แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
IQA network Why and How to ?
Advertisements

โครงการศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ด้วย การเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) ของ สถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
การประชุมบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 2/2556 วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ. ศ ณ ห้องประชุมทางไกล SC1218 และ SC216.
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
1. 2 สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ / วิชาการและงานวิจัย เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
รายชื่อสมาชิก. นางสาว ภัสราพร ผาระขันธ์. รหัส
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
(ร่าง) แผนที่ยุทธศาสตร์กรมกิจการเด็กและเยาวชน
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
Risk Management in New HA Standards
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
การบริหารและขับเคลื่อน
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
พระธาตุนาดูนศูนย์รวมจิตใจ น้ำดูนใสศักดิ์สิทธิ์ วิจิตรสวนวลัยรุกขเวช
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย ผู้ส่งมอบ: (นิยาม: คน/กลุ่มบุคคล/หน่วยงานที่ส่งมอบปัจจัยนำเข้า) 1. หน่วยงานจำหน่าย ยา เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ 2. หน่วยงานรับจ้างเหมาบริการ ความต้องการ: 1. ส่งมอบยา ,เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ ตรงตามระยะเวลา ต้นทุนเหมาะสม 2. ส่งมอบสินค้าและบริการมีคุณภาพ ตรงเวลา ต้นทุนเหมาะสม ปฏิบัติตามข้อตกลง ถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบ เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย พร้อมใช้งาน พันธมิตร: (นิยาม: คน/กลุ่มบุคคล/หน่วยงานที่มีการทำงานร่วมกัน) 1. หน่วยงานในสังกัดกรมที่ตั้งอยู่ในจ.หนองคาย ได้แก่ ด่าน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ สังกัด สคร.8 กรมควบคุมโรค 2. หน่วยงานที่ให้บริการประชาชนด้านสาธารณสุข ได้แก่ ศูนย์บริการเทศบาล 1, ศูนย์บริการเทศบาล 2 (นาโพธิ์) 3. หน่วยงานภาครัฐและอปท.ที่บูรณาการแผนร่วมกัน ได้แก่ ก.มหาดไทย/ก.เกษตรฯ/ก.ศึกษาธิการ./ก.พัฒนาสังคมฯ อบจ./เทศบาล/อบต. ความต้องการ: 1. ขับเคลื่อนโยบายและยุทธศาสตร์ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการด้านสาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน 3. ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ผู้ให้ความร่วมมือ: (นิยาม:คน/กลุ่มบุคคล/หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน) 1. สถาบันการศึกษา 2. สถาบันทางการเงิน ความต้องการ: 1.1 สร้างบุคลากรทางสาธารณสุขที่สอดคล้องกับความต้องการของระบบบริการสุขภาพ 1.2 เอกสารและข้อมูลด้านการเงินที่ถูกต้องและรวดเร็ว พันธกิจ: 1. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพในเขตพื้นที่จังหวัด 2. ดำเนินการให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขในเขตพื้นที่จังหวัด 3. กำกับ ดูแล ประเมินผล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สาธารณสุขในเขตพื้นที่จังหวัด เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมาย มีการบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและมีการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย 5. พัฒนาระบบสารสนเทศ งานสุขศึกษา และการสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพในเขตพื้นที่จังหวัด 6. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย วิสัยทัศน์: เป็นองค์กรที่มีระบบบริหารจัดการที่มีคุณภาพ ระบบบริการสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภคที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อคนหนองคายสุขภาพดี ค่านิยม: NKMOPH = Network to Vitality เครือข่ายนักปฏิบัติที่มีชีวิตชีวา Keep Learning for Change เรียนรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น Mastery เป็นนายตนเอง Originality เร่งสร้างสิ่งใหม่ People Centered ใส่ใจประชาชน Humility ถ่อมตนอ่อนน้อม งบประมาณ: 1,581,743,831 บาท (ปีงบประมาณ 2559) รายได้: 2,225,048,076.99 บาท (ปีงบประมาณ 2559) จำนวนบุคลากร ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว: 2,928 คน ( ณ วันที่ 31 ธ.ค.59 ) อสม. จำนวน 10,387 คน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ: พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510, พ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525, พ.ร.บ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528, พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 พ.ร.บ.ประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542, พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545, พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550, พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 , พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2559 กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ: PMQA, DHS,รพ.สต.5ดาว5ดี5ส., CQI, PDCA, QA, HA,JCI,KM,R2R, R&D, BSC, Best Practices, Benchmarking ระบบการควบคุมภายใน, IHR2005,ITA ภารกิจ/บริการหลัก: 1. จัดระบบบริการสุขภาพ ครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค 2. จัดบริการตามมาตรฐานการให้บริการและพัฒนางานวิจัยและ R2R 3. ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 4. การพัฒนาและบังคับใช้มาตรการทางกฎหมาย คุณลักษณะโดดเด่นของภารกิจ/บริการ: 1. นโยบายและแผนพัฒนาระบบสุขภาพจังหวัดหนองคายสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 2. การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมทุกระดับ 3. มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการจัดบริการเชิงรุกเพื่อสุขภาพที่ดี 4. ระบบดูแลสุขภาพสามารถดูแลประชาชนตลอดช่วงชีวิตและครอบคลุมทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูมิถึงตติยภูมิ 5. การบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน 6. ผู้รับบริการเข้าถึงบริการได้ง่าย และทั่วถึง 7. จัดบริการเพื่อลดความแออัด และลดระยะเวลารอคอย เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของประชาชน 8. การบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันภายในจังหวัด ผู้รับบริการ: จำแนกกลุ่มผู้รับบริการออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. หน่วยบริหารและหน่วยบริการในสังกัด สสจ.หนองคาย 2. ผู้รับบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข และกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียจำนวน 1 กลุ่ม ความต้องการ: 1.ระบบการบริหารยุทธศาสตร์และการจัดระบบบริการที่ได้มาตรฐาน 2.ช่องทางบริการที่เข้าถึงได้ สะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม สถานที่ไม่แออัด บุคลากรให้บริการที่สุภาพ ได้รับการคุ้มครองสิทธิ และคุณภาพการบริการได้ตามมาตรฐาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: (นิยาม: ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำงานทั้งทางตรงและทางอ้อม) ผู้ได้รับผลกระทบจากการรักษาพยาบาล ความต้องการ: ได้รับการช่วยเหลือ เยียวยา ที่รวดเร็ว เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ สภาพแวดล้อมการแข่งขัน: อายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของคนหนองคาย เพศชาย 70.02 ปีเป็นอันดับที่ 7ของเขต เพศหญิง 79.02 ปีเป็นอันดับที่ 3ของเขต ความครอบคลุมสิทธิ มีหลักประกันสุขภาพ ร้อยละ 99.97เป็นอันดับ 4 ของเขต อันดับ26 ของประเทศ การเข้าถึงการบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข มีหน่วยบริการครอบคลุมทุกพื้นที่ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวก สสจ.หนองคาย และหน่วยบริการในสังกัดมีมาตรฐานคุณภาพการให้บริการ HA และมาตรฐานสากล JCI เทียบเท่ากับสถานบริการเอกชน โดย สสจ.หนองคาย มีผู้รับบริการเข้าถึงบริการได้ครอบคลุมและมีความคุ้มค่าในการรักษาพยาบาลทีมากกว่า ส่วนผลการปฏิบัติราชการกับหน่วยงานที่มีภารกิจ ขนาด และโครงสร้างคล้ายคลึงกัน พบว่าสสจ.หนองคาย มีผลการเทียบเคียงที่ดีกว่า สสจ.อุดรธานีและ สสจ.ขอนแก่น สมรรถนะหลักขององค์กร: 1. ความเชี่ยวชาญทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข 2. การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเชิงรุก 3. จิตบริการ 4. การสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ: 1.รายงานประจำปีของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขต 8 2.เว็บไซด์ของสสจ. ในเขต8 สสจ.ขอนแก่น และเว็บไซด์เขต 8 3.เว็บไซด์ของสปสช. เขต 8 4 เว็บไซด์ของ กท.สธ. SA ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์: (ด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร สังคม) ด้านพันธกิจ: นโยบายภาครัฐที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพของประชาชน และการพัฒนาปรับปรุงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลวิธี สามารถแก้ปัญหาสำคัญของพื้นที่และเป็นประโยชน์ต่อประชาชน ด้านการปฏิบัติการ: การจัดบริการเชิงรุกด้านสาธารณสุขที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต วิถีชุมชน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือด้านสุขภาพกับ อปท. และเครือข่ายภาคประชาชน การมีระบบบริการสุขภาพและเทคโนโลยีการรักษาที่ทันสมัย และการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ในจังหวัด ด้านบุคลากร: ความพึงพอใจของผู้ให้บริการ ความสุขของบุคลากรและองค์กร ความเชื่อมั่นของผู้รับบริการคุณภาพการรักษาที่มีคุณภาพและลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล ด้านสังคม: มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ได้แก่ ชุมชน อสม. ภาคประชาชน ส่วนท้องถิ่น ได้ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน: 1. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติต่างๆ 3. พื้นที่ชายแดนมีผลกระทบต่อการแพร่ระบาดคน พืช สัตว์ 4. การเกิดโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำที่รุนแรงมากขึ้น 5.โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลง การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 6. การอพยพของแรงงานข้ามชาติ 7. การเปลี่ยนแปลงของสังคมชนบทสู่สังคมเมือง พฤติกรรมบริโภคที่เปลี่ยนแปลง SC ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์: (ด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร สังคม) 1.ด้านพันธกิจ คือ คนหนองคายมีสุขภาพดี โดยมีอายุคาดเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ลดอัตราป่วย ลดอัตราตายที่เป็นปัญหาสำคัญของจังหวัด 2.ด้านปฏิบัติการ คือ ลดระยะเวลาการรอคอยของผู้รับบริการ สร้างสุขภาพเชิงรุก ผู้รับบริการพึงพอใจ หน่วยบริการ มีสภาพคล่องทางการเงิน 3. ด้านบุคลากร คือ เพิ่มขีดความสามารถและอัตรากำลังคนด้านสุขภาพตาม Services Plan เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคน 4. ด้านสังคม คือ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ณ 7 กค.60