งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงาน PMQA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงาน PMQA"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแกดำ จังหวัดมหาสารคาม

2 PA ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
การบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล(Governance Excellence) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ แผนงานที่ 11 โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ โครงการที่ 38 ตัวชี้วัดที่ 91 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3 ผลการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบรายหมวดของ สสอ. (หมวด P /หมวด 1 / หมวด 5) สสอ.แกดำ ประกาศเป็นนโยบายการพัฒนา PMQA จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร ตอบข้อคำถามครบ 13 ข้อ ประเมินตนเอง หมวด 1 และ หมวด 5 ครบทุกประเด็นข้อคำถาม วิเคราะห์และประเมิน จุดแข็ง จุดอ่อน พร้อมสรุปค่าคะแนน จัดทำแผนพัฒนา ตามลำดับความสำคัญ หมวด 1 จำนวน 1 แผนงาน หมวด 5 จำนวน 1 แผนงาน

4 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแกดำ จังหวัดมหาสารคาม) ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ: -หน่วยงานภาครัฐ -หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ -องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น -สถาบันทางการเงิน -ภาคประสังคม ชมรมต่างๆ ความต้องการ: -ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย เข้าถึงง่าย -ระบบตรวจสอบที่โปร่งใส เป็นธรรม -การติดต่อประสานงานที่มีประสิทธิภาพ พันธกิจ: จัดทําแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ดําเนินการและให้บริการด้านการแพทย์และการสาธารณสุข กํากับ ดูแล ประเมินผล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานสาธารณสุข ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานเกี่ยวกับงานสาธารณสุข วิสัยทัศน์:ประชาชนอำเภอแกดำ สุขภาพดี มีความสุข ทุกภาคีมีส่วนร่วม จัดระบบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค่านิยม: M = Mastery(เป็นนายตัวเอง) O = Originality(เร่งสร้างสิ่งใหม่) P = People Centered Approach(ใส่ใจประชาชน) H = Humility(ถ่อมตน อ่อนน้อม) งบประมาณ: งบดำเนินการตามภารกิจ จำนวน 250,000 บาท รายได้: กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ/ผู้รับบริการ จำนวนบุคลากร: จำนวน 48 คน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ: ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ พ.ร.บ.บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ พ.ร.บ.ข้าราชการพลเรือน พ.ศ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ พ.ศ.2560 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ: คปสอ./EOC/HRD/SRRT/DHML/SRM/PDCA/PMQA 1. ภารกิจ/บริการหลัก: ภารกิจตามพันธกิจหลัก (4 ด้าน) ภารกิจตามยุทธศาสตร์ (4E) ผู้รับบริการ: - ประชาชนกลุ่มสุขภาพดี - ประชาชนกลุ่มเสี่ยง - ประชาชนกลุ่มพิเศษ - ญาติผู้ป่วยและผู้ได้รับผลกระทบด้านบริการ ความต้องการ: ความพึงพอใจในบริการ การได้รับบริการที่ดี มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: - ประชาชนกลุ่มสุขภาพดี - ประชาชนกลุ่มเสี่ยง - ประชาชนกลุ่มพิเศษ - ญาติผู้ป่วยและผู้ได้รับผลกระทบด้านบริการ ความต้องการ: - ความพึงพอใจในบริการ - ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย - เรื่องผลกระทบได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว สภาพแวดล้อมการแข่งขัน: สสอ.แกดำ เป็นหน่วยงานขนาดเล็กที่มีความพร้อมทั้งด้านบุคลากร อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ และระบบการบริหารจัดการที่ดี การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายจากทุกภาคส่วนในอำเภอ การสนับสนุนงบประมาณจาก CUP ตามภารกิจที่เพียงพอ ทำให้แนวโน้มผลการปฏิบัติราชการที่ดีขึ้น การแข่งขันกับหน่วยงานภายในจังหวัดที่มีขนาดระดับเดียวกันจึงมีความเหมาะสมและสามารถนำผลเทียบเคียงเพื่อพัฒนาต่อไป สมรรถนะหลักขององค์กร: ความเป็นมืออาชีพทางด้านบริหาร ความเชี่ยวชาญด้านการสาธารณสุข การติดต่อสื่อสารและประสานภาคีเครือข่าย การส่งเสริม เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคเข้มแข็ง แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ: ๔๓ แฟ้ม HDC ผลการประเมิน KPI ระดับอำเภอจาก สสจ. รางวัล/ผลงานเด่น/นวตกรรม ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์: (ด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร สังคม) -สสอ.แกดำเป็นฝ่ายเลขนุการของคณะกรรมการพํฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.) -สสอ.แกดำ/ผอ.รพ.แกดำ เป็นที่ปรึกษากองทุนสุขภาพตำบล -บุคลากรระดับรพ.สต.ร่วมเป็นคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล -ผู้รับผิดชอบงานสสอ./รพช./รพ.สต. เป็นพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนกองทุนสุขภาพ -มีอสม.และภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมในระดับชุมชนที่เข้มแข็ง และครอบคลุมทุกพื้นที่ -มีทีมสหวิชาชีพให้บริการครอบคลุม เชื่อมโยงกับชุมชนทุกระดับ(รพช. รพ.สต. ศสมช.) การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน: มีทีมงานมีสมรรถนะเพิ่มขึ้น มีงบประมาณสนับสนุนที่เหมาะสม เพียงพอ ความพร้อมของเครื่องมือในการทำงาน ระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ และมีความคล่องตัว ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์: (ด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร สังคม) การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ การปฏิบัติงานตามแผนยุทธศาสตร์ร่วมกับกองทุนสุขภาพตำบล ข้อร้องเรียนต่างๆ สมรรถนะบุคลากร

5 กราฟนำเสนอคะแนนผลการประเมินตนเอง หมวด 1 และ หมวด 5

6 วิเคราะห์และประเมินสรุปจุดแข็ง จุดอ่อน
การประเมิน จุดแข็ง จุดอ่อน หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์การโดยผู้บริหารของส่วนราชการ คะแนน 4.60 1.2 การกำกับดูแลองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม คะแนน 4.17 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ 2. บุคลากรมีส่วนร่วม 3. มีระบบการควบคุมภายในชัดเจน 4. การทำงานเป็นทีม 5. ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย 6. การสร้างแรงจูงใจและการให้รางวัล 1. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม 2. ระบบการประเมินผล 3. ความสัมพันธ์ที่ดีของบุคลากรต่อชุมชน 4. ผู้บริหารมีความจริงใจ 5. ความสัมพันธ์ที่ดีของบุคลากรต่อชุมชน 6. การมีส่วนร่วม 1. ขาดการประเมินวิสัยทัศน์ 2. การจัดทำรายงาน ITA ไม่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร 3. ความแตกต่างระหว่างวัยวุฒิ คุณวุฒิ ประสบการณ์ของบุคลากร 4. เครื่องมือสื่อสารไม่พร้อมใช้งาน 5. ความน่าเชื่อถือในระบบ HDC 1. การเข้าถึงข้อมูล 2. การนำผลการประเมินไปใช้พัฒนายังไม่ครอบคลุม 3. ความคาดหวังสูงของสังคม 4. ความโลภของคน 5. ความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ 6. การประสานงาน 7. ความยั่งยืน

7 วิเคราะห์และประเมินสรุปจุดแข็ง จุดอ่อน
การประเมิน คะแนนประเมิน โอกาสในการปรับปรุง หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 3.83 1.การนำผลลัพธ์จากการประเมินไปใช้พัฒนายังไม่ครอบคลุม 2.ภาระงานของบุคลากร 3.ระบบ FTE ทำให้ไม่สามารถจัดคนตามกรอบได้ 4.ช่องทางการประชาสัมพันธ์ไม่หลากหลายอาจนำไปสู่ปัญหาการ 5.ร้องเรียนได้ภาระงานมาก 6.ระบบการรักษาความปลอดภัยอาคารสถานที่ยังไม่ได้มาตรฐาน 7.ระเบียบราชการไม่เอื้อต่อการจัดระบบสวัสดิการในองค์การ 8.การสนับสนุนงบประมาณ 9.การนำผลการประเมินไปใช้เพื่อการพัฒนายังไม่ครอบคลุม 10.การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 11.การสรุปบทเรียนและการนำเสนอของบุคลากร

8 หมวด 1 การนำองค์การ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด ลำดับ จุดอ่อน 1.1
1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 1.10 1.11 1.12 ความน่าเชื่อถือข้อมูลสาธารณสุขในระบบ HDC การประสานงานและการมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่มีการการประเมินวิสัยทัศน์ การจัดทำรายงาน ITA ไม่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร ความแตกต่างระหว่างวัยวุฒิ คุณวุฒิ ประสบการณ์ของบุคลากร เครื่องมือสื่อสารไม่พร้อมใช้งาน การเข้าถึงข้อมูล การนำผลการประเมินไปใช้พัฒนายังไม่ครอบคลุม ความคาดหวังสูงของสังคม ความโลภของคน ความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ ความยั่งยืน หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 การนำผลลัพธ์จากการประเมินไปใช้พัฒนายังไม่ครอบคลุมบุคลากรทุกกลุ่ม ภาระงานของบุคลากรไม่สอดคล้องกับกรอบอัตรากำลังตามโครงสร้างที่ควรจะเป็น ระบบ FTE ยังไม่สามารถตอบสนองกับการจัดคนตามกรอบอัตรากำลังได้ ช่องทางการประชาสัมพันธ์ไม่หลากหลายอาจนำไปสู่ปัญหาการร้องเรียนได้ภาระงานมาก ระบบการรักษาความปลอดภัยอาคารสถานที่ยังไม่ได้มาตรฐาน ระเบียบราชการไม่เอื้อต่อการจัดระบบสวัสดิการในองค์การ การสนับสนุนงบประมาณ การนำผลการประเมินไปใช้เพื่อการพัฒนายังไม่ครอบคลุม การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การสรุปบทเรียนและการนำเสนอของบุคลากร

9 ระยะเวลาดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561)
กิจกรรม/ขั้นตอน เชื่อมกับ หมวด ระยะเวลาดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้รับผิดชอบหลัก ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๑.แผนการพัฒนาคุณภาพระบบข้อมูลสารสนเทศ -ข้อมูลสารสนเทศมีคุณภาพมากขึ้น นายสุรไกร เดชศิริ กิจกรรม ๑.จัดประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบ ๒.พัฒนาการบันทึกข้อมูลให้มีคุณภาพ ๓.นิเทศ ติดตาม ๔. ประเมินผล ๕.สรุปผลการดำเนินงาน ๒.แผนพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพท้องถิ่นเพื่อดูแลสุขภาพประชาชน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพท้องถิ่นมีประสิทธิภาพมากขึ้น นายมาวิน ทับแสง ๒.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนและการดำเนินงาน

10 ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ (SIIIM)
ด้านโครงสร้าง เร่งจัดคนลงตามกรอบของขนาด สสอ. (เล็ก(10) กลาง(12) ใหญ่(14)) เพื่อให้ สอดคล้องพันธกิจ/แก้ไขปัญหาภาระงาน/บรรลุเป้าประสงค์ ด้านข้อมูล เร่งสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือเทคโนโลยีให้ สสอ. ตามเกณฑ์องค์กรคุณภาพ เพื่อ ตอบสนองสาธารณสุขไทยยุค 4.0 ด้านการดำเนินงาน ด้านการบูรณาการ ด้านการกำกับ ติดตาม ประเมินผล ภาระงานไม่สอดคล้องกับจำนวนคน ต้องอาศัยและใช้ทรัพยากรร่วมกับ รพช./รพ.สต.

11 จบการนำเสนอ “ซื่อสัตย์ สามัคคี บริการดี มีคุณภาพ”


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงาน PMQA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google