งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสสจ. และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100) มาตรการ : 1. ประกาศนโยบายนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร 2. ส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานในสังกัดดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร 3. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน ไตรมาส 1 1.จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน 2.ประเมินองค์กรด้วยตนเองเทียบเกณฑ์PMQA พศ 2558 หมวด 1,หมวด5 3.จัดทำแผนพัฒนาองค์กรของหวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน 4.จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน(หมวด 7) ไตรมาส 2 1.ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรในหมวดที่ 1, หมวดที่ 5 ไตรมาส 3 1.ผลการดำเนินการของตัวชี้วัดในหมวดที่ดำเนินการ (หมวด 1 , หมวด5) ไตรมาส 4 1.ร้อยละของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 100) 2. ร้อยละของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 11 แห่ง ( ร้อยละ 100)

2 แผนงาน:การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
แผนงานที่ 11 Governance Excellence Target/KPI No. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ร้อยละ 20) Situation/Baseline Situation :กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร โดยนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร ตั้งแต่ ปี ถึงปัจจุบันและขยายการพัฒนาคุณภาพสู่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เพื่อบูรณาการการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน Baseline : สสจ.กพ. และ สสอ.ในสังกัด เคยมีการนำเกณฑ์ PMQA มาพัฒนาพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร แต่ดำเนินการไม่ต่อเนื่อง Strategyมาตรการ 1ประกาศนโยบายนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร 2. ส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานในสังกัดดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร 3. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน Key Activity 1.เแต่งตั้งคณะทำงานหน่วยงาน 2.จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร 1. ประเมินองค์กรด้วยตนเองเทียบเกณฑ์PMQA พศ 2558 (บังคับ 2 หมวดหมวด 1,หมวด 5)หาโอกาสพัฒนา และจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุง 2. ถอดบทเรียน เรียนรู้ร่วมกันในเครือข่าย 1. จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน (หมวด 7) นำผลการพัฒนามาปรับปรุงการทำงาน Small Success ไตรมาส 1 1.จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน ทุกแห่ง 2.ประเมินองค์กรด้วยตนเองเทียบเกณฑ์PMQA พศ 2558 หมวด 1,หมวด5 3.จัดทำแผนพัฒนาองค์กรของหวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน 4.จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน (หมวด 7) ไตรมาส 2 1.ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรในหมวดที่ 1, หมวดที่ 5 ไตรมาส 3 1.ผลการดำเนินการของตัวชี้วัดในหมวดที่ดำเนินการ( หมวด 1 , หมวด5) ไตรมาส 4 1.ร้อยละของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ( ร้อยละ 100) 2. ร้อยละของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 3 แห่ง ( ร้อยละ 20)

3 ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ สสจ./สสอ คำนิยาม การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมายถึง การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กรตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ.2558 (Public Sector Management Quality Award : PMQA) ประกอบด้วย 1) ลักษณะสำคัญขององค์กร 2) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด คือ หมวด 1 การนำองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ และหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ โดยดำเนินการในปี ดังนี้ 1.จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรจำนวน 13 ข้อคำถาม และทบทวนทุกปี 2.ดำเนินการภาคบังคับในปี ปีละ 2หมวด และปี ปีละ 6 หมวด 3. นำผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (OFI) ในหมวดที่ดำเนินการมาจัดทำแผนพัฒนาองค์กร หมวดละ 1 แผน 4. จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ในหมวดที่ดำเนินการตามเกณฑ์หมวด7 5. ดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์กร 6. ติดตามประเมินผลโดยทีม internal Audit/ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร/ผู้ตรวจประเมินภายนอก

4 เกณฑ์การประเมิน รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน
1.จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน 2.ประเมินองค์กรด้วยตนเองเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ ภาคบังคับ 2 หมวด(หมวด1,หมวด5) 3.จัดทำแผนพัฒนาองค์กรของหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน (หมวดละ 1แผน) 4.จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน (ตามเกณฑ์ หมวด 7) 1.ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรในหมวดที่ดำเนินการ 1.ผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดในหมวดที่ดำเนินการ ดำเนินการผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

5 วิธีการประเมินผล ประเมินผลจากขั้นตอนการดำเนินงาน 1
วิธีการประเมินผล ประเมินผลจากขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน 1 คะแนน 2.ประเมินองค์กรด้วยในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน 3. จัดทำแผนพัฒนาองค์กรด้วยในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน 4.จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน 5. ดำเนินการตามแผนและสรุปรายงานผลการประเมินตนเอง ผลการพัฒนาคุณภาพ 1 คะแนน 0.20 คะแนน 0.40 คะแนน 0.60 คะแนน 0.80 คะแนน 1 คะแนน 5 คำถาม 7 คำถาม 9 คำถาม 11คำถาม 13 คำถาม 0.50 คะแนน 1 คะแนน 1 หมวด 2 หมวด 0.50 คะแนน 1 คะแนน มีแผน 1 หมวด มีแผน 2 หมวด 0.50 คะแนน 1 คะแนน 1 หมวด 2 หมวด

6 P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
TQM : Framework PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 6 6

7 วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
7

8 การประเมิน หมวด 7 LeTCLi
แนวทางการประเมิน การประเมิน หมวด ADLI การประเมิน หมวด LeTCLi KRA – คุณภาพการให้บริการ KPI – ความพึงพอใจ วัดด้วย KPI พึงพอใจอย่างเดียว อาจไม่แสดงถึงคุณภาพการให้บริการได้อย่างครอบคลุม

9 PMQA คะแนนหมวดกระบวนการ (หมวด 1–6)

10 PMQA คะแนนหมวดกระบวนการ (หมวด 1–6)

11

12 ลักษณะสำคัญขององค์การ
1.ลักษณะองค์การ 2. สภาวการณ์ขององค์การ ก.สภาพแวดล้อมของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์การ ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน ข. บริบทเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ (12) ความท้าทายเชิง กลยุทธ์และความ ได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ ของส่วนราชการใน ด้านพันธกิจ ด้านการ ปฏิบัติการ ด้านความ รับผิดชอบต่อสังคม และด้านบุคลากร (1) พันธกิจหรือหน้าที่ ตามกฎหมาย (เพิ่ม : ความสำคัญเชิง เปรียบเทียบ) มีส่วนช่วยอย่างไรแก่ประเทศ (2) วิสัยทัศน์ ค่านิยม (เพิ่ม: สมรรถนะหลัก ของส่วนราชการ) (3) ลักษณะโดยรวมของ บุคลากร (4) สินทรัพย์ : อาคาร สถานที่ เทคโนโลยี อุปกรณ์และสิ่ง อำนวยความสะดวก (5) กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่ สำคัญ (9) สภาพแวดล้อมด้านการ แข่งขันการแข่งขันทั้ง ภายในและภายนอก ประเทศ (10) การเปลี่ยนแปลงด้าน การแข่งขัน (ถ้ามี) เพิ่ม : ปัจจัยที่มีผลต่อความ พ่ายแพ้/ชนะ คู่แข่ง เช่น การ มี application ทำให้ลูกค้า เข้าถึงได้ง่าย, การ เปลี่ยนแปลงของราคาน้ำมัน โลกที่ลดลง, การเปิด AEC ทำให้มีบทบาทมากขึ้น (11) แหล่งข้อมูลเชิง เปรียบเทียบ (13) องค์ประกอบสำคัญ ของระบบการ ปรับปรุงผลการ ดำเนินการรวมทั้ง กระบวนการ ประเมินและการ ปรับปรุงโครงการ และกระบวนการที่ สำคัญของ ส่วนราชการ เช่น KM, innovation, CQI, HA (6) โครงสร้างองค์กร (7) ผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียและ ระดับกลุ่มเป้าหมาย (8) ส่วนราชการหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกันในการ ให้บริการหรือส่งมอบ งานต่อกัน 15

13 ลักษณะสำคัญขององค์การ : คำอธิบายเพิ่มเติม
1.ลักษณะองค์การ 2. สภาวการณ์ขององค์การ เข้าใจส่วนราชการ รู้จุดแข็ง จุดเปราะบาง และโอกาสของส่วนราชการ เข้าใจสมรรถนะหลัก ของส่วนราชการ รู้จักคู่แข่ง/คู่เทียบ เข้าใจสภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบข้อบังคับของ ส่วนราชการ เข้าใจความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ระบุบทบาทและความสัมพันธ์ ด้านการกำกับดูแล เตรียมพร้อมรับการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีอย่างพลิกผัน เข้าใจบทบาทของผู้ส่งมอบ 15

14 ก. สภาพแวดล้อมของส่วนราชการ
(1) พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมาย พันธกิจหรือหน้าที่หลักตามกฎหมายของส่วนราชการคืออะไรบ้าง ความสำคัญเชิงเปรียบเทียบของพันธกิจหรือหน้าที่ต่อความสำเร็จของส่วนราชการคืออะไร กลไกที่ส่วนราชการใช้ในการส่งมอบผลผลิตและบริการตามพันธกิจคืออะไร (2) วิสัยทัศน์และค่านิยม เป้าประสงค์ วิสัยทัศน์ และค่านิยม ของส่วนราชการที่ได้ประกาศไว้คืออะไร สมรรถนะหลักของส่วนราชการคืออะไร และมีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับพันธกิจของส่วนราชการ

15 ก. สภาพแวดล้อมของส่วนราชการ
(3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร ลักษณะโดยรวมของบุคลากรในส่วนราชการเป็นอย่างไร มีการจำแนกบุคลากรออกเป็นกลุ่มและประเภทอะไรบ้าง อะไรคือข้อกำหนดพื้นฐานด้านการศึกษาสำหรับกลุ่มบุคลากรประเภทต่างๆ องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้บุคลากรเหล่านี้มีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อบรรลุพันธกิจและวิสัยทัศน์ของส่วนราชการคืออะไร ในการทำงานจำเป็นต้องมีข้อกำหนดด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่เป็นเรื่องเฉพาะของส่วนราชการอะไรบ้าง

16 ก. สภาพแวดล้อมของส่วนราชการ
(4) สินทรัพย์ ส่วนราชการมีอาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ ที่สำคัญอะไรบ้าง (5) กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับ ส่วนราชการดำเนินการภายใต้สภาพแวดล้อมด้านกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่สำคัญอะไรบ้าง

17 ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์การ
(6) โครงสร้างองค์การ โครงสร้างและระบบการกำกับดูแลของส่วนราชการมีลักษณะอย่างไร ระบบการรายงานระหว่างคณะกรรมการกำกับดูแลส่วนราชการ ผู้บริหารส่วนราชการ และส่วนราชการที่กำกับมีลักษณะเช่นใด

18 ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์การ
(7) ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มผู้รับบริการ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญของส่วนราชการมีอะไรบ้าง กลุ่มดังกล่าวมีความต้องการและความคาดหวังที่สำคัญต่อผลผลิต ต่อการบริการที่มีให้ และต่อการปฏิบัติการของส่วนราชการอย่างไร ความต้องการและความคาดหวังของแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างไร

19 ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์การ
(8) ส่วนราชการหรือองค์การที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงานต่อกัน ส่วนราชการหรือองค์การที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงานต่อกันที่สำคัญมีหน่วยงานใดบ้าง และมีบทบาทอย่างไรในระบบงานของส่วนราชการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ของส่วนราชการ และการยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดังกล่าวมีส่วนร่วมหรือบทบาทอย่างไรในการสร้างนวัตกรรมให้แก่ส่วนราชการ กลไกที่สำคัญในการสื่อสาร และข้อกำหนดสำคัญในการปฏิบัติงานร่วมกันมีอะไรบ้าง

20 ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน
(9) สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศ สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศของส่วนราชการเป็นเช่นใด ประเภทการแข่งขัน และจำนวนคู่แข่งขันในแต่ละประเภทเป็นเช่นใด ประเด็นการแข่งขันคืออะไร และผลการดำเนินการปัจจุบันของส่วนราชการในประเด็นดังกล่าวเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งเป็นอย่างไร

21 ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน
(10) การเปลี่ยนแปลงด้านการแข่งขัน การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ซึ่งมีผลต่อสถานะการแข่งขันของส่วนราชการ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงที่สร้างโอกาส สำหรับการสร้างนวัตกรรมและความร่วมมือ คืออะไร (11) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ แหล่งข้อมูลสำคัญสำหรับข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ และเชิงแข่งขันในธุรกิจเดียวกัน มีอะไรบ้าง แหล่งข้อมูลสำคัญสำหรับข้อมูลเชิงเปรียบเทียบจากหน่วยงานอื่นๆ ทั้งในส่วนราชการ นอกส่วนราชการ และจากต่างประเภทกันมีอะไรบ้าง มีข้อจำกัดอะไร ในการได้มาซึ่งข้อมูลเหล่านี้

22 ข. บริบทเชิงยุทธศาสตร์
(12) ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และความได้เปรียบ เชิงยุทธศาสตร์ ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และความได้เปรียบเชิง ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการในด้านพันธกิจ ด้านการ ปฏิบัติการ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้าน บุคลากร คืออะไร

23 ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
(13) ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ องค์ประกอบสำคัญของระบบการปรับปรุงผลการ ดำเนินการ รวมทั้งกระบวนการประเมิน การปรับปรุง โครงการและกระบวนการที่สำคัญของส่วนราชการ มี อะไรบ้าง

24 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสขอำเภอ หน่วยงานส่วนกลาง 1. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) 1.ระดับความสำเร็จในการด้าเนินการเป็นหน่วยงานคุณธรรม 2. ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) ของผู้บริหาร 2 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) ของผู้บริหาร 3. จำนวนผลงานที่ส่งสมัครรับรางวัล 3 จำนวนผลงานที่ส่งสมัครรับรางวัล 3. ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (OG) หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 1. ดัชนีความสุขของคนทํางาน (Happinometer) 2. อัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (Retention Rate) 3. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร

25 ตัวชี้วัดหมวด 1 การนำองค์การ
ลำดับ ชื่อตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน คำอธิบาย วิธีการวัด/เงื่อนไขการประเมิน 1 2 3 4 5 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) 70 75 80 85 90 ผลคะแนนตามแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ทุกข้อ (EB 1- EB 11) วัดจากผลคะแนนตามแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ทุกข้อ (EB 1- EB 11) ไตรมาสที่ 4 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) ของผู้บริหาร 60 65 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.22561 วัดร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ(PA) ของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด/สาธารณสุขอำเภอ/ผู้อำนวยการกอง จำนวนผลงานที่ส่งสมัครรับรางวัล (สสจ.) ผลงาน หมายถึง ผลดำเนินงานที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) บริการ กระบวนการ นวัตกรรม ฯลฯ รางวัล หมายถึง รางวัลที่มอบให้จากหน่วยงานภายนอก หมายเหตุ: นับจำนวนผลงานจากหน่วยงานทั้งจังหวัด วัดจำนวนผลงานที่ส่งสมัครรับรางวัล ในปี พ.ศ ทั้งนี้ ต้องแสดงชื่อผลงาน วัน เดือนปีที่ส่งสมัคร และ ชือหน่วยงานที่มอบรางวัล (สสอ.) - หมายเหตุ : นับจำนวนผลงานภายใน คปสอ.

26 ตัวชี้วัดหมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร
ลำดับ ชื่อตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน คำอธิบาย วิธีการวัด/เงื่อนไขการประเมิน 1 2 3 4 5 ดัชนีความสุขของคนทํางาน (Happinometer) ≥ 50 ≥ 55 ≥ 60 ≥ 65 ≥70 หมายถึง การประเมินดัชนีความสุขของคนทํางาน (Happinometer) รายบุคคลโดยผ่านระบบ Online-based หรือ Mobile App-based หน่วยงานนั้นมีการวิเคราะห์ผลการประเมิน (คู่มือรายละเอียดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัดที่ 56) วัดจากผลการสำรวจดัชนีความสุขของคนทํางาน(ยุทธศาสตร์ที่ 3 People Excellence (ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ) แผนที่ 10 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ โครงการที่ 2 โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข ตัวชี้วัดที่ 56) อัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (Retention Rate) ไม่น้อยกว่าร้อยละ65 ไม่น้อยกว่าร้อยละ70 ไม่น้อยกว่าร้อยละ75 ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ไม่น้อยกว่าร้อยละ85 อัตราการคงอยู่ (Retention Rate) หมายถึง จํานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นระยะเวลา 1 ปีขึ้นไป (นับตามปีงบประมาณ) (คู่มือรายละเอียดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัดที่ 57) วัดจากอัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ที่ 3 People Excellence (ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ) แผนที่ 10 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ โครงการที่ 2 โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข ตัวชี้วัดที่ 57) ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร 60 65 70 75 80 บุคลากร หมายถึง ข้าราชการ พนักงานกระทรวงสาธาณสุข พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราวหรือบุคลากรตามที่ระบุไว้ในหมวดลักษณะสำคัญขององค์กร ข้อ 3 แผนพัฒนาบุคลากร หมายถึง แนวทาง กลยุทธ์ หรือวิธีการที่หน่วยงานกำหนดไว้ เพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลการของหน่วยงานทุกระดับทุกประเภท ตามลักษณะงานและสาขาวิชาชีพ ให้เป็นไปตามคุณลักษณะบุคลากรที่ต้องการ วัดร้อยละของบุคลากร ต้องครอบคลุมทุกกลุ่มบุคลากรตามที่หน่วยงานระบุไว้ในหมวดลักษณะสำคัญขององค์กร ข้อ 3ที่ได้รับการพัฒนา สูตรคำนวณ : จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร*100/จำนวนบุคลากรที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาบุคลากร

27 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ตัวอย่าง รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 1 RM 1.1 ร้อยละของบุคลากรที่เข้าใจทิศทางขององค์การ 60 65 70 75 80 RM 1.2 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการนำองค์การของผู้บริหาร RM 1.3 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารใช้ในการติดตามการบริหารงาน RM 1.4 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (อย่างน้อยด้านละ 1 มาตรการ/โครงการ) 90 100 RM 1.5 ระดับความเชื่อมั่นด้านธรรมาภิบาลของผู้รับบริการต่อองค์การ (ค่าเฉลี่ย) 27

28 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ตัวอย่าง รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล RM 5.1 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อองค์การ 60 65 70 75 80 RM 5.2 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาบุคลากร RM 5.3 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน RM 5.4 ร้อยละของหลักสูตรการอบรมที่ผ่านเกณฑ์ตามหลักประกันคุณภาพการฝึกอบรม RM 5.5 ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านระดับของขีดสมรรถนะที่จังหวัดกำหนด (Competency Level) 40 45 50 55 28

29 ไลน์ กลุ่ม “PMQA กำแพงเพชร”


ดาวน์โหลด ppt และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google