ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วิชา เขียนแบบไฟฟ้า รหัส ท-ป-น (0-4-2)
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ สไลด์ประกอบการสอน เรื่อง การจำลองความคิด เป็นข้อความ.
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
เทคโนโลยีสื่อประสม Multimedia Technology
 จัดเตรียมแรงงานคุณภาพ ให้ตรงตามความต้อง ของภาคอุตสาหกรรม  จำเป็นต้องพัฒนาให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถปฏิบัติได้จริง  หลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับฝีมือ.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
การปกครองคณะสงฆ์ไทย Thai Sangha Administration
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สาระการเรียนรู้ ความหมายของอัลกอริทึม วิธีการเขียนผังงานที่ดี
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มหลักสูตร กลุ่มหลักสูตรที่ 1 : พัฒนาความรู้
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การนำเสนอผลงานการวิจัย
เข้าใจตนเอง เข้าใจสาขา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี รหัสวิชา 2204-2006 วิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2556 (ปรับปรุง 2557)  ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จุดประสงค์รายวิชา 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรม 2. วิเคราะห์งาน ใช้ผังงานและรหัสเทียม เพื่อลำดับขั้นตอนการทำงาน 3. ออกแบบโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจอย่างง่าย 4. ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนคำสั่งควบคุมการทำงานเบื้องต้น 5. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์ รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมและวิเคราะห์งาน 2. ออกแบบ เขียนผังงาน รหัสเทียม ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา (Algorithms) 3. เขียนโปรแกรมธุรกิจอย่างง่าย รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมและการวิเคราะห์งาน ผังงาน รหัสเทียม ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา (Algorithms) โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ และการใช้กระบวนการเขียนโปรแกรม คำสั่งการคำนวณ เงื่อนไขกรณี และการทำซ้ำ การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ในงานธุรกิจ รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

หน่วยการสอน บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม บทที่ 2 หลักการเขียนโปรแกรม บทที่ 3 ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา (Algorithm) และผังงาน (Flow Chart) บทที่ 4 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code) บทที่ 5 การจัดเตรียมเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม บทที่ 6 โครงสร้างและไวยกรณ์ภาษาซี บทที่ 7 กระบวนการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง บทที่ 8 อาร์เรย์และโครงสร้าง บทที่ 9 การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ใช้ในธุรกิจ รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม 1.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1.2 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.3 การจัดการข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1.4 ข้อมูล 1.5 ตัวแปร 1.6 ค่าคงที่ 1.7 ตัวดำเนินการ 1.8 นิพจน์ รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 2 หลักการเขียนโปรแกรม 2.1 แนวคิดการเขียนโปรแกรม 2.2 การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง (Structure Programming) 2.3 เริ่มต้นเขียนโปรแกรม 2.4 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 2.5 คุณลักษณะของนักเขียนโปรแกรมที่ดี 2.6 ลักษณะของโปรแกรมที่ดี 2.7 ตัวอย่างการวิเคราะห์งานและการเขียนโปรแกรม รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 3 ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา (Algorithm) และผังงาน (Flow Chart) 3.3 เครื่องมือที่ช่วยในการเขียนอัลกอริทึม 3.4 ผังงาน (Flow Chart) 3.5 การเขียนผังงานโปรแกรม รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 4 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code) 4.2 ความหมายของรหัสเทียม 4.3 ประโยชน์ของการเขียนรหัสเทียม 4.4 หลักในการเขียนรหัสเทียม 4.5 พื้นฐานการเขียนรหัสเทียม 4.6 ตัวอย่างการเขียนรหัสเทียม รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 5 การจัดเตรียมเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม 5.1 แนวคิด 5.2 การติดตั้งโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 5.3 การเรียกใช้งานโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 5.4 การเรียกใช้งานโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 ผ่านโปรแกรม DOSBox 5.5 การใช้งานโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 5.6 การใช้เมนูคำสั่งในโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 5.7 การติดตั้ง EditPlus ร่วมกับ Turbo C/C++ V3.0 รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

สอบกลางภาคบทที่ 1 – บทที่ 5 สอบกลางภาค (20 คะแนน) ภาคเรียนที่ 1/2559 รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 6 โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาซี 6.1 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี 6.2 ประโยคคำสั่ง (Statement) ในภาษาซี 6.3 ข้อมูล (Data) 6.4 ตัวแปร (Variable) 6.5 ตัวดำเนินการ (Operation) 6.6 นิพจน์ (Expression) 6.7 ฟังก์ชันมาตรฐาน (Basic Function) รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 7 กระบวนการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง 7.1 การเขียนโปรแกรมโครงสร้างการทำงานแบบลำดับ (Sequence) 7.2 การเขียนโปรแกรมโครงสร้างการทำงานแบบตัดสินใจทางเลือกตามเงื่อนไข 7.3 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบทางเลือก 7.4 การเขียนโปรแกรมโครงสร้างการทำงานแบบมีการทำซ้ำ (Repeation) 7.5 คำสั่งควบคุมอื่นๆ 7.6 ลูปซ้อน (Next Loop) รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 8 อาร์เรย์และโครงสร้าง 8.1 อาร์เรย์ 8.2 ตัวแปรโครงสร้าง 8.3 บิตฟิลด์ (Bit Field) 8.4 ยูเนียน (Unions) 8.5 ข้อมูลชนิด (Enumerations) รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 9 การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ใช้ในธุรกิจ 9.1 แฟ้มข้อมูล 9.2 การออกแบบโปรแกรม 9.3 การออกแบบโปรแกรมเมนูหลัก (Main Menu) รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

สอบปลายภาคบทที่ 6 – บทที่ 10 สอบปลายภาค (30 คะแนน) ภาคเรียนที่ 1/2559 รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การวัดผลและประเมินผล 1. จิตตนิสัย 20 คะแนน 2. งานที่มอบหมาย 30 คะแนน 3. สอบกลางภาค 20 คะแนน 4. สอบปลายภาค 30 คะแนน รวมคะแนน 100 คะแนน รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แนะนำรายวิชาเรียน ภาคเรียนที่ 1/2559 จบการนำเสนอ แนะนำรายวิชาเรียน ภาคเรียนที่ 1/2559 รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์