ระบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
ระบบบริหารงานบุคคล.
การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา.
ขั้นตอนการบันทึกประวัติ และลงทะเบียนสำหรับ นักศึกษาใหม่
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
การใช้งาน Microsoft Excel
ระบบสารสนเทศเพื่อการ ดำเนินการตามพระ ราชบัญญัญติการ อำนวยความสะดวกใน การพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ. ศ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสระบุรี
โปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA) ปีงบประมาณ 2552 สำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ
การอบรม การใช้ศูนย์ กำลังคน อาชีวศึกษา วันจันทร์ที่ 12 ตุลาคม 2558 ณ ห้องโสตทัศนศึกษา วิทยาลัย อาชีวศึกษาอุดรธานี cop.net.
ศูนย์สารสนเทศ กรมป่าไม้. 1) การทำงานของระบบ 2) วิธีการใช้งานเบื้องต้น 3) การใช้งานระบบติดตามการบุกรุกทำลายป่า.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ยินดีต้อนรับผู้เข้าอบรมการพัฒนาเว็บไซต์ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
คู่มือสำหรับผู้สมัครงาน ระบบนัดพบตลาดงานเชิง คุณภาพ ( นัดพบ IT )
วรกร สุพร งานนโยบายและแผน และประกันคุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือการเปิดเผยข้อมูลราคากลาง ในระบบ e - GP สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
ขั้นตอนการใช้บริการต้องทำอย่างไร  สถานประกอบกิจการ ต้องดำเนินการตาม ขั้นตอนต่อไปนี้ ตรวจสอบข้อมูลสถานประกอบกิจการในระบบ ที่
โดย ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย.
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
ขั้นตอนการกรอกข้อมูล ลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่นในระบบ
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กำหนดการ บันทึกข้อมูล ผ่านเว็บไซต์
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
“ อสม. 4.0 ”.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
กลุ่มเกษตรกร.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การบันทึกข้อมูลองค์ความรู้ ผ่านระบบ thaismartfarmer.net
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ งานนโยบายและแผนฯ
จังหวัดสมุทรปราการ.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ last update 25/5/60

หัวข้อ ภาพรวมการเบิกเงินโครงการ การสมัครใช้งานระบบ การกำหนดเจ้าหน้าที่โครงการ การกำหนดสิทธิเจ้าหน้าที่โครงการ การเข้าใช้งานระบบ การดูรายละเอียดโครงการ การสร้างรายงานความก้าวหน้าและการนำส่ง รายงานความก้าวหน้า รายละเอียดการใช้งานโปรแกรม

รายงานความก้าวหน้าออนไลน์ ขั้นตอนรายงานความก้าวหน้าโครงการเพื่อการเบิกเงินงวด และปิดโครงการโดยภาคี ทำเป็นรูปเล่มส่งเหมือนเดิม 1. ภาคีส่งรายงานความก้าวหน้า รายงานการเงิน + รายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 2. ผู้ประสานสรุปผลงานและทำเบิกเงินงวด 3. ผู้มีอำนาจอนุมัติใบเบิกเงินงวด 4. การเงินจ่ายเงินงวด 5. ศูนย์สัญญาสแกนเอกสารเข้า infoma และส่งเอกสารเก็บคลัง

ระบบ DOL ภาพรวมการสมัครและส่งรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ http://www.thaihealth.or.th >> เพื่อนภาคี http:// dol.thaihealth.or.th ระบบ DOL ผู้รับผิดชอบโครงการ (PM) สมัครสมาชิก เลือกโครงการ การกำหนดสิทธิ โดย PM PM เชิญเจ้าหน้าที่ เข้าโครงการ และ ระบบจะส่ง email ไปที่เจ้าหน้าที่ การใช้งาน เจ้าหน้าที่โครงการ สมัครสมาชิก การจัดการสื่อ รายงานความก้าวหน้า

ภาพรวมการสมัครและส่งรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 1. สมัครสมาชิกเว็บไซต์ www.thaihealth.or.th ที่เมนู “เพื่อนภาคี” 2. เพิ่มข้อมูลทีมงาน (เข้าเว็บ www.thaihealth.or.th เลือกเมนู “เพื่อนภาคี”) 3. จัดการสิทธิ์ให้ทีมงาน (เข้าเว็บ dol.thaihealth.or.th เลือกเมนู “รายงานความก้าวหน้า”) 4. อัพโหลดไฟล์เพื่อเตรียมสำหรับประกอบรายงานความก้าวหน้า dol.thaihealth.or.th 6.1. ตีกลับ ภาพรวมการสมัครและส่งรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 7. ผู้ประสานรับเล่มรายงานความก้าวหน้าพร้อมทำใบเบิกเงินงวด 6. ผู้ประสานตรวจรายงานความก้าวหน้า 5. สร้าง, แก้ไข, ส่งรายงานความก้าวหน้า ให้ PM และเจ้าหน้าที่ สมัครการใช้งาน

การสมัครใช้งานระบบ ลงทะเบียนผู้ใช้งาน ทั้งผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานของโครงการสมัครเว็บสสส. www.thaihealth.or.th เลือกเมนู “เพื่อนภาคี” ลงทะเบียนผู้ใช้งาน ผู้รับผิดชอบโครงการ ล๊อคอินเข้าเว็บสสส. ที่เมนูเพื่อนภาคี เลือกว่าใครเป็นทีมงานของโครงการที่ตนเองรับผิดชอบบ้าง กำหนดเจ้าหน้าที่โครงการ กำหนดหน้าที่ทีมงานแต่ละคนในระบบ http://dol.thaihealth.or.th ว่าให้ใครส่งระบบรายงานความก้าวหน้าได้บ้าง กำหนดผู้รายงานความก้าวหน้าโครงการ

การสมัครใช้งานระบบ - 1) ลงทะเบียนผู้ใช้งาน(ทำครั้งเดียว) 1.เปิด web browser และเข้าไปที่ http://www.thaihealth.or.th 2.คลิกที่เมนู “เพื่อนภาคี” ที่ด้านบนสุดของเว็บไซต์ **ผู้รับผิดชอบโครงการ หากมีโครงการที่รับผิดชอบหลายโครงการ ให้เลือกใส่แค่ 1 โครงการ ที่เหลือระบบดึงให้เอง**

การสมัครใช้งานระบบ - 1) ลงทะเบียนผู้ใช้งาน(ทำครั้งเดียว) (ต่อ) 3.กดเมนู “สมัครสมาชิก” และกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน โดย หากเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ในหัวข้อ ”ท่านเคยทำโครงการกับ สสส. หรือไม่: ” ให้เลือก “ใช่” และให้ใส่ข้อมูล “รหัสโครงการ”, “เลข บัตรประชาชน” และ “งบประมาณโครงการ” ให้ถูกต้อง หากไม่ใช่ผู้รับผิดชอบโครงการ ให้เลือก “ไม่ใช่”

การสมัครใช้งานระบบ - 1) ลงทะเบียนผู้ใช้งาน(ทำครั้งเดียว) (ต่อ) 4.หลังจากกรอกข้อมูลครบแล้วกดที่ปุ่ม “ลงทะเบียน” ก็จะเสร็จสิ้นขั้นตอนการลงทะเบียน

การสมัครใช้งานระบบ- 2) การกำหนดเจ้าหน้าที่โครงการ 1.เปิด web browser และเข้าไปที่ http://www.thaihealth.or.th 2.เข้าไปที่เมนู “เพื่อนภาคี” ที่ด้านบนสุดของเว็บไซต์ 3.log in เข้าระบบโดย “ผู้รับผิดชอบโครงการ” 4.คลิกที่ชื่อตนเองด้านบนขวาของเว็บไซต์ จะมีปุ่ม ”รายชื่อ โครงการ” เพื่อใช้เพิ่มโครงการอื่น(กรณีที่ดูแลมากกว่า 1 โครงการ) หรือ กำหนดเจ้าหน้าที่โครงการ

ค้นหาชื่อหรืออีเมลล์ การสมัครใช้งานระบบ- 2) การกำหนดเจ้าหน้าที่โครงการ (ต่อ) 5.กรณีกำหนดเจ้าหน้าที่โครงการให้คลิกที่ปุ่ม ระบบ จะให้ค้นชื่อเพื่อกำหนดว่าใครเป็นสมาชิกโครงการบ้าง และระบบจะส่ง email ไปที่เจ้าหน้าที่คนนั้นให้ activate เพื่อยืนยันว่า email ถูกต้อง ค้นหาชื่อหรืออีเมลล์ เลือกเข้ากลุ่ม 1 2

การสมัครใช้งานระบบ- 2) การกำหนดเจ้าหน้าที่โครงการ (ต่อ) 6.กรณีเพิ่มโครงการให้คลิกที่ปุ่ม

การสมัครใช้งานระบบ- 3) การกำหนดสิทธิเจ้าหน้าที่โครงการ **** ส่วนนี้จะทำโดยผู้รับผิดชอบโครงการเท่านั้น**** 1.เปิด web browser และเข้าไปที่ http://dol.thaihealth.or.th 2.คลิกที่ปุ่ม “เข้าสู่ระบบ” และคลิก “ผู้ใช้เว็บทั่วไปของ สสส.” ใส่ e-mail และ password ที่ได้สมัครไว้กับเว็บไซต์ http://www.thaihealth.or.th ข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้ระบบdol.thaihealth.or.th กด ยอมรับข้อตกลง การใช้งาน

การสมัครใช้งานระบบ- 3) การกำหนดสิทธิเจ้าหน้าที่โครงการ (ต่อ) 3.log in เข้าระบบ http://dol.thaihealth.or.th ด้วยชื่อ “ผู้รับผิดชอบโครงการ” 4.คลิกที่เมนู “รายงานความก้าวหน้า” ระบบจะแสดง รายชื่อโครงการทั้งหมดที่ท่านมีสิทธิ 5.คลิกที่ปุ่ม ที่ด้านหลังของชื่อโครงการ

การสมัครใช้งานระบบ- 3) การกำหนดสิทธิเจ้าหน้าที่โครงการ (ต่อ) 6.ระบบจะแสดงรายชื่อเจ้าหน้าที่โครงการทั้งหมดที่ท่านกำหนดไว้ (เฉพาะคนที่ activate email แล้ว)

การเริ่มใช้งานระบบ 1.เปิด web browser และเข้าไปที่ http://dol.thaihealth.or.th 2.คลิกที่ปุ่ม “เข้าสู่ระบบ” และคลิก “ผู้ใช้เว็บทั่วไป ของ สสส.” ใส่ e-mail และ password ที่ได้สมัคร ไว้กับเว็บไซต์ http://www.thaihealth.or.th 3.หลังจากเข้าระบบแล้วท่านจะสามารถ upload file สื่อได้ หรือเข้าไปที่เมนู “รายงาน ความก้าวหน้า” เพื่อเริ่มใช้บันทึกรายงาน ความก้าวหน้า/การกำหนดสิทธิเจ้าหน้าที่ โครงการ

การสร้างรายงานความก้าวหน้าและการนำส่งรายงานความก้าวหน้า 1.เข้าเว็บไซต์ http://dol.thaihealth.or.th ล๊อกอินด้วยชื่อที่ สมัครไว้ที่เว็บ Thaihealth 2.คลิกที่เมนู “รายงานความก้าวหน้า” 3.คลิกไปที่โครงการที่ต้องการสร้างรายงานความก้าวหน้า 4.ท่านสามารถดูรายละเอียดของงวดเงิน และงานที่ต้องส่ง ได้ที่ด้านบนของหน้าจอ 5.ด้านซ้ายจะแสดงหัวข้อที่ต้องต้องกรอกในการทำรายงาน ความก้าวหน้า หลังจากกรอกแต่ละหัวข้อให้กดปุ่ม “บันทึก” ทุกหัวข้อ 6.หลังจากท่านกรอกข้อมูลครบแล้ว ท่านสามารถส่ง รายงานทั้งเล่มให้สสส.ได้โดยกดปุ่ม “ส่ง”

ภาพรายละเอียดการใช้งานโปรแกรม

Log in ด้วยอย่างใดอย่างหนึ่ง 1.Gmail สสส. 2.สมาขิก เว็บสสส. ค้นตามที่สนใจ สำหรับโครงการเข้าไปรายงานความก้าวหน้า แสดงสื่อแนะนำ 3 ลำดับ เลือกตามประเด็นสุขภาพ แสดงสื่อล่าสุด

เก็บประวัติการเข้าใช้งาน แสดงโครงการที่ดูแล เก็บประวัติการเข้าใช้งาน ค้นหาโครงการ รูปคน จะเห็นเฉพาะผู้รับผิดขอบโครงการ List โครงการพร้อมรายละเอียดและการแจ้งเตือนเบื้องต้น กำหนดเจ้าหน้าที่โครงการ

คลิกเพื่อแสดงรายละเอียดโครงการเหมือนระบบบริหาร (ยกเว้นเรื่องงบประมาณ) แสดงรายละเอียดงวดเงิน การจ่ายเงิน และการแจ้งเตือน สามารถคุยผ่านทางช่องทางแชทได้ สร้างรายงานส่งสสส.

แสดงสถานะเล่มรายงานงวดนั้นๆ แสดงรายละเอียดงานที่ต้องส่งสสส.และกำหนดส่ง หัวข้อรายงานที่ต้องส่งแต่ละงวด(ตาม Executive Meeting)

ตัวอย่างเล่มรายงานความก้าวหน้า

ตัวอย่างเอกสารแนบท้ายเล่ม

แสดงว่าโดนตีกลับเล่มรายงาน

แสดงสิ่งที่ผู้ประสานให้แก้ไข (รายหัวข้อ)

ภาคผนวก

รูปแบบการกรอกข้อมูล (Metadata) หัวข้อ คำอธิบาย 6.ภาษา (Language) เลือก ภาษาของสื่อ 7.Category เลือก องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการของภาคี (ภาคีกรอก) 8.ประเด็น (Issue) เลือก ประเด็นของสื่อ เช่น การศึกษา, แอลกอฮอล์ 9.เป้าหมาย (Target) สิ่งที่จะต้องคำนึงถึงในการกำหนดกลุ่มเป้าหมายคือ สื่อดิจิทัลชิ้นนั้นเป็นงานที่มีกลุ่มเป้าหมายใด หรือผู้รับประโยชน์จากสื่อดิจิทัลนี้เป็นใคร 10.ประเภทสถานที่(Setting) การกำหนดว่าเป็น Setting ใดนั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นงานที่ทำใน Setting ใด เช่น โรงเรียนปลอดบุหรี่ Setting คือ “โรงเรียน” เป็นต้น 11.พื้นที่ (Area) การกำหนดว่าเป็น พื้นที่ดำเนินการ (Area) ใดนั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นงานที่ทำในพื้นที่ดำเนินการ ตำบล อำเภอ จังหวัดใด 12.คำค้น (Keyword,Tag) คำค้นควรจะสั้น กระชับ ง่าย และสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงคือ หากเราเป็นผู้ค้นหาสื่อนี้ เราจะค้นด้วยคำว่าอะไรบ้าง 13.เจ้าของงาน เจ้าของงาน (Creator ใส่ชื่อ ตำแหน่ง ว่าเป็นผู้แต่ง, ผู้จัดทำ, บรรณาธิการ) 14.ทรัพย์สินทางปัญญา สัญญาอนุญาตการใช้งานสื่อ ทรัพย์สินทางปัญญา ประเภท ลิขสิทธิ์ (ระบุ CC) 15.ระดับการเผยแพร่ เลือก ระดับที่ต้องการเผยแพร่ 16.สถานะ เลือก ร่าง หรือเสร็จสมบูรณ์ รูปแบบการกรอกข้อมูล (Metadata) 1. ข้อมูลประเภท Text (รายงาน, เอกสาร, บทความ ฯลฯ ) หัวข้อ คำอธิบาย 1.ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อที่กระชับ สั้น และสามารถเข้าใจได้ง่าย ทำให้ผู้ค้นหาสื่อสามารถเข้าใจว่าสื่อชิ้นนั้นเป็นเรื่องอะไรได้ในเบื้องต้น 2.ลักษณะ (Description) คำอธิบายเกี่ยวกับสื่อ ควรมีรายละเอียดที่อธิบายให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจ เช่น ที่มาที่ไป(โดยย่อ) เกี่ยวข้องกับอะไร และ/หรือมีประโยชน์อย่างไร เหมาะสมกับใคร เป็นต้น 3.วันเดือนปี (Release date) วัน เดือน ปี ที่เผยแพร่(Release date หากเป็นหนังสือ/บทความ ให้ใช้วันที่ตีพิมพ์ หากไม่ทราบให้ใช้วันที่อัพโหลด) 4.รูปแบบไฟล์ ระบุ รูปแบบไฟล์ (ระบบจะกำหนดค่าเริ่มต้น) 5.แหล่งที่มา (Source) เป็นการระบุว่าสื่อดิจิทัลนี้มาจากเว็บใด หน่วยงานใด หรือใครเป็นผู้จัดทำ (กรณีที่ไม่ใช่ทั้งผู้แต่งและสำนักพิมพ์) เช่น ที่มาจาก ศูนย์วิจัยอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย

รูปแบบการกรอกข้อมูล (Metadata) หัวข้อ คำอธิบาย 4.วันเดือนปี (Release Date) วันเดือนปี ที่เผยแพร่ หากเป็นหนังสือ/บทความ ให้ใช้วันที่ตีพิมพ์ หากไม่ทราบให้ใช้วันที่อัพโหลด 5.รูปแบบไฟล์ (Format) ระบุ รูปแบบไฟล์ 6.ภาษา (Language) เลือก ภาษาของสื่อ 7.ผู้ผลิต (Production) ระบุชื่อผู้ผลิตสื่อ 8.Category เลือก องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการของภาคี (ภาคีกรอก) 9.ประเด็น (Issue) เลือก ประเด็นของสื่อ เช่น การศึกษา, แอลกอฮอล์ 10.กลุ่มเป้าหมาย (Target) สิ่งที่จะต้องคำนึงถึงในการกำหนดกลุ่มเป้าหมายคือ สื่อดิจิทัลชิ้นนั้นเป็นงานที่มีกลุ่มเป้าหมายใด หรือผู้รับประโยชน์จากสื่อดิจิทัลนี้เป็นใคร 11.ประเภทสถานที่(setting) การกำหนดว่าเป็น Setting ใดนั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นงานที่ทำใน Setting ใด เช่น โรงเรียนปลอดบุหรี่ Setting คือ “โรงเรียน” เป็นต้น 12.พื้นที่ (Area) การกำหนดว่าเป็น พื้นที่ดำเนินการ (Area) ใดนั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นงานที่ทำในพื้นที่ดำเนินการ ตำบล อำเภอ จังหวัดใด 13.คำค้น (Keyword,Tag) คำค้นควรสั้น กระชับ ง่าย และสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงคือ หากเราเป็นผู้ค้นหาสื่อนี้ เราจะค้นด้วยคำว่าอะไรบ้าง 14.ทรัพย์สินทางปัญญา สัญญาอนุญาตการใช้งานสื่อ ทรัพย์สินทางปัญญา ประเภท ลิขสิทธิ์ 15.ระดับการเผยแพร่ เลือก ระดับที่ต้องการเผยแพร่ 16.สถานะ เลือก ร่าง หรือเสร็จสมบูรณ์ รูปแบบการกรอกข้อมูล (Metadata) 2. ข้อมูลประเภท Multimedia (ภาพ และเสียง, Audio ฯลฯ ) หัวข้อ คำอธิบาย 1.ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อที่กระชับ สั้น และสามารถเข้าใจได้ง่าย ทำให้ผู้ค้นหาสื่อสามารถเข้าใจว่าสื่อชิ้นนั้นเป็นเรื่องอะไรได้ในเบื้องต้น 2.เจ้าของงาน ระบุ ชื่อเจ้าของงาน 3.ลักษณะ (Description) คำอธิบายเกี่ยวกับสื่อ ควรมีรายละเอียดที่อธิบายให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจ เช่น ที่มาที่ไป(โดยย่อ) เกี่ยวข้องกับอะไร และ/หรือมีประโยชน์อย่างไร เหมาะสมกับใคร เป็นต้น

รูปแบบการกรอกข้อมูล (Metadata) หัวข้อ คำอธิบาย 5.เจ้าของงาน (Owner) ระบุ ชื่อเจ้าของงาน 6.แหล่งที่มา (Source) เป็นการระบุว่าสื่อดิจิทัลนี้มาจากเว็บใด หน่วยงานใด หรือใครเป็นผู้จัดทำ (กรณีที่ไม่ใช่ทั้งผู้แต่งและสำนักพิมพ์) เช่น ที่มาจาก ศูนย์วิจัยอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย 7.ภาษา (Language) เลือก ภาษาของสื่อ 8.ผู้ผลิต (Production) ระบุ ชื่อผู้ผลิต หรือบริษัทที่ผลิตสื่อ 9.Category เลือก องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการของภาคี (ภาคีกรอก) 10.ประเด็น (Issue) เลือก ประเด็นของสื่อ เช่น การศึกษา, แอลกอฮอล์ 11.กลุ่มเป้าหมาย (Target) สิ่งที่จะต้องคำนึงถึงในการกำหนดกลุ่มเป้าหมายคือ สื่อดิจิทัลชิ้นนั้นเป็นงานที่มีกลุ่มเป้าหมายใด หรือผู้รับประโยชน์จากสื่อดิจิทัลนี้เป็นใคร 12.ประเภทสถานที่(Setting) การกำหนดว่าเป็น Setting ใดนั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นงานที่ทำใน Setting ใด เช่น โรงเรียนปลอดบุหรี่ Setting คือ “โรงเรียน” เป็นต้น 13.พื้นที่ (Area) การกำหนดว่าเป็น พื้นที่ดำเนินการ (Area) ใดนั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นงานที่ทำในพื้นที่ดำเนินการ ตำบล อำเภอ จังหวัดใด 14.คำค้น (Keyword,Tag) คำควรจะสั้น กระชับ ง่าย และสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงคือ หากเราเป็นผู้ค้นหาสื่อนี้ เราจะค้นด้วยคำว่าอะไรบ้าง 15.ทรัพย์สินทางปัญญา สัญญาอนุญาตการใช้งานสื่อ ทรัพย์สินทางปัญญา ประเภท ลิขสิทธิ์ 16.ระดับการเผยแพร่ เลือก ระดับที่ต้องการเผยแพร่ 17.สถานะ เลือก ร่าง หรือเสร็จสมบูรณ์ รูปแบบการกรอกข้อมูล (Metadata) 3. ข้อมูลประเภท Visual (รูปถ่าย, ภาพวาด, งานdesign ฯลฯ ) หัวข้อ คำอธิบาย 1.ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อที่กระชับ สั้น และสามารถเข้าใจได้ง่าย ทำให้ผู้ค้นหาสื่อสามารถเข้าใจว่าสื่อชิ้นนั้นเป็นเรื่องอะไรได้ในเบื้องต้น 2.ลักษณะ (Description) คำอธิบายเกี่ยวกับสื่อ ควรมีรายละเอียดที่อธิบายให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจ เช่น ที่มาที่ไป(โดยย่อ) เกี่ยวข้องกับอะไร และ/หรือมีประโยชน์อย่างไร เหมาะสมกับใคร เป็นต้น 3.วันเดือนปี (Release Date) วันเดือนปี ที่เผยแพร่ หากไม่ทราบให้ใช้วันที่อัพโหลด 4. รูปแบบไฟล์ รูปแบบ (ประเภทไฟล์ เช่น AI)

รูปแบบการกรอกข้อมูล (Metadata) หัวข้อ คำอธิบาย 5.ภาษา (Language) เลือก ภาษาของสื่อ 6.ผู้สร้างสรรค์(Creator) ระบุ ชื่อผู้สร้างสรรค์ 7.ผู้ผลิต ระบุชื่อผู้ผลิต หรือบริษัทที่ผลิตสื่อ 8.Category เลือก องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการของภาคี (ภาคีกรอก) 9.ประเด็น (Issue) เลือก ประเด็นของสื่อ เช่น การศึกษา, แอลกอฮอล์ 10.กลุ่มเป้าหมาย(Target) สิ่งที่จะต้องคำนึงถึงในการกำหนดกลุ่มเป้าหมายคือ สื่อดิจิทัลชิ้นนั้นเป็นงานที่มีกลุ่มเป้าหมายใด หรือผู้รับประโยชน์จากสื่อดิจิทัลนี้เป็นใคร 11.ประเภทสถานที่ (Setting) การกำหนดว่าเป็น Setting ใดนั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นงานที่ทำใน Setting ใด เช่น โรงเรียนปลอดบุหรี่ Setting คือ “โรงเรียน” เป็นต้น 12.พื้นที่ (Area) การกำหนดว่าเป็น พื้นที่ดำเนินการ (Area) ใดนั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นงานที่ทำในพื้นที่ดำเนินการ ตำบล อำเภอ จังหวัดใด 13.คำค้น (Keyword, Tag) คำควรจะสั้น กระชับ ง่าย และสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงคือ หากเราเป็นผู้ค้นหาสื่อนี้ เราจะค้นด้วยคำว่าอะไรบ้าง 14.ทรัพย์สินทางปัญญา เลือก สัญลักษณ์เงื่อนไขในการใช้และเผยแพร่สื่อ 15.ระดับการเผยแพร่ เลือก ระดับที่ต้องการเผยแพร่ 16.สถานะ เลือก ร่าง หรือเสร็จสมบูรณ์ รูปแบบการกรอกข้อมูล (Metadata) 4. ข้อมูลประเภท Application (Source code) หัวข้อ คำอธิบาย 1.ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อที่กระชับ สั้น และสามารถเข้าใจได้ง่าย ทำให้ผู้ค้นหาสื่อสามารถเข้าใจว่าสื่อชิ้นนั้นเป็นเรื่องอะไรได้ในเบื้องต้น 2.ลักษณะ (Description) คำอธิบายเกี่ยวกับสื่อ ควรมีรายละเอียดที่อธิบายให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจ เช่น ที่มาที่ไป(โดยย่อ) เกี่ยวข้องกับอะไร และ/หรือมีประโยชน์อย่างไร เหมาะสมกับใคร เป็นต้น 3.วันเดือนปี (Release Date) วันเดือนปี ที่เผยแพร่ หากไม่ทราบให้ใช้วันที่อัพโหลด 4. รูปแบบไฟล์ รูปแบบ (ประเภทไฟล์ เช่น AI)

คณะผู้จัดทำ 1. นาย รวิศม์ วงษ์สมาน 2. น.ส. วนิดา วะชังเงิน หากมีข้อสงสัยหรือคู่มือนี้มีความบกพร่องประการใด สามารถติดต่อแจ้งข่าวสารหรือ สอบถามได้ตามอีเมล์และเบอร์โทรศัพท์ด้านล่างนี้ appsupport@thaihealth.or.th โทรศัพท์ 02-270-5622-4 หรือ 092-270-5622 (เวลา 18:00-20:00 น. และวันเสาร์เวลา 8.00-20.00 น.) https://dol.thaihealth.or.th ขอขอบพระคุณ