คู่มือ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สำหรับ Child & Family Team (CFT) เขตสุขภาพที่ 9.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
“สร้างชาติ…ด้วยการเล่น”
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คู่มือ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สำหรับ Child & Family Team (CFT) เขตสุขภาพที่ 9

แนวทางการดำเนินงาน เน้นการดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิดถึง ๒ ปี โดยการใช้ครอบครัวเป็นฐาน กระตุ้นครอบครัวให้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ ในการดูแลเอาใจใส่ และให้ความสาคัญกับสตรีตั้งครรภ์และเด็ก ในกรณีที่ครอบครัวไม่พร้อมภาคีเครือข่ายในชุมชน กลุ่มจิตอาสาต่างๆ จะมาทำหน้าที่สนับสนุนให้ความช่วยเหลือนั่นคือ การใช้ครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน (Family and Community – based)

กลไกการดำเนินงาน ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (Child and Family Team : CFT) มีบทบาทและหน้าที่ คือ ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมหลังคลอด เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและสุขภาพช่องปาก การเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกวิธี รวมทั้งรับฟังปัญหาของครอบครัว ตลอดจนหาวิธี การแก้ไขและแนวทางช่วยเหลือ ดังนั้น จึงต้องจัดทีมพัฒนาเด็กและครอบครัวในทุกระดับ เพื่อให้เกิดการวางแผน การดำเนินงานและแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างมีคุณภาพและครบวงจร การใช้ครอบครัวและชุมชนเป็นฐานถือเป็นหัวใจหลักในการปฏิบัติงาน การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว จะต้องอาศัยคนและทรัพยากรในชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วม การเสริมสร้างศักยภาพของชุมชน การให้ชุมชนเรียนรู้ปัญหาของชุมชน ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินงาน และร่วมแก้ไข จึงจะทาให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาวต่อไป

การดำเนินงาน ประกอบด้วยกิจกรรมที่สำคัญ 2 กิจกรรม กิจกรรมทางสุขภาพ เป็นหน้าที่หลักของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตั้งแต่ระดับตำบลจนถึงระดับจังหวัด เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการดูแลสุขภาพของสตรี ตั้งแต่ระยะก่อนการตั้งครรภ์จนถึงคลอด หลังคลอดและเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ ๒ ปีบริบูรณ์ กิจกรรมทางสังคม มีทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ เป็นกิจกรรมที่เติมเต็มส่วนขาดและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเด็กและครอบครัว รวมทั้งการสร้างความสัมพันธ์และความผูกพันที่ดีระหว่างเด็ก ครอบครัวและชุมชน กิจกรรมทางสุขภาพ หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการดูแลสุขภาพของสตรี ตั้งแต่ระยะก่อนการตั้งครรภ์จนถึงคลอด หลังคลอดและเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ ๒ ปีบริบูรณ์ กิจกรรมทางสุขภาพ เป็นหน้าที่หลักของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตั้งแต่ระดับตำบลจนถึงระดับจังหวัด กิจกรรมทางสังคม หมายถึง กิจกรรมทางสังคม ที่เติมเต็มส่วนขาดและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเด็กและครอบครัว รวมทั้งการสร้างความสัมพันธ์และความผูกพันที่ดีระหว่างเด็ก ครอบครัวและชุมชน ได้แก่ กิจกรรมด้านขนบธรรมเนียมประเพณี กิจกรรมที่สร้างความรัก ความอบอุ่นให้เด็ก กิจกรรมที่ใช้แก้ปัญหาของครอบครัว และอื่นๆ กิจกรรมทางสังคม มีทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ

คู่มือ CFT ประกอบด้วย 12 module

Module 1 ประกอบด้วย 3 หัวข้อ ความสำคัญของ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต การดำเนินการโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน เขตสุขภาพที่ 9 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญ และสามารถดำเนินงานโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิตตามบทบาทหน้าที่ของตนเองได้ วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ นพ.ยุทธนา/ นพ.เอนก/ นพ.จเด็ด หรือ มิส 1,000 วันระดับจังหวัด และระดับอำเภอ

Module 1 ประกอบด้วย 3 หัวข้อ 3. การฝากครรภ์คุณภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) มีความรู้และความเข้าใจในความสาคัญของการฝากครรภ์คุณภาพ สามารถดูแลและให้คำแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวได้ วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ สูติแพทย์ หรือผู้ปฏิบัติงาน ANC จาก รพช./ รพท./ รพศ./ สสจ. และศูนย์อนามัยที่ 9

Module 2 เน้นเรื่องโภชนาการ ประกอบด้วย 2 หัวข้อ โภชนาการของหญิงในวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร และบอกความสาคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ โภชนากร ระดับจังหวัด หรือระดับอำเภอ หรือศูนย์อนามัยที่ 9 มิสนมแม่ ระดับเขต (ศูนย์อนามัยที่ 9) จังหวัด หรือระดับอำเภอ

Module 3 การใช้ยาเบื้องต้นในสตรีมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็ก วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว ( CFT ) สามารถให้การดูแล และให้คำปรึกษาในการใช้ยากับหญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและเด็กได้ วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ เภสัชกร จาก รพช./ รพท./ รพศ. และ ศูนย์อนามัยที่ 9

Module 4 โรคที่พบบ่อยในขณะตั้งครรภ์ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว ( CFT ) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เกิดขณะตั้งครรภ์ และสามารถให้คำแนะนำในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ สูติแพทย์ หรือผู้ปฏิบัติงาน ANC จาก รพช./ รพท./ รพศ. และ ศูนย์อนามัยที่ 9

Module 5 การประเมิน ดูแลสุขภาพจิตหญิงตั้งครรภ์ หลังคลอด เด็ก วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) สามารถประเมินความเสี่ยงด้านสังคมและจิตใจของหญิงตั้งครรภ์ หลังคลอดและเด็กได้ 2.เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัวสามารถประเมินความสามารถและให้คำแนะนาในการเลี้ยงดูบุตรได้ 3.เพื่อให้สามีและสมาชิกในครอบครัวหญิงตั้งครรภ์มีส่วนร่วมในการดูแลมารดาและทารก วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จาก รพช./ รพท./ รพศ. (รพ.สุรินทร์)

Module 6 การเจริญเติบโตของเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง 2 ปี วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) มีความรู้และความเข้าใจในการเจริญเติบโตทางร่างกายของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปีบริบูรณ์ และสามารถเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก โดยการใช้กราฟแสดงการเจริญเติบโตของเด็กไทย สำนักโภชนาการ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๘ วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ โภชนากร ระดับจังหวัด หรือระดับอำเภอ หรือศูนย์อนามัยที่ 9

Module 7 กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน แนวทางการตรวจคัดกรองภาวะซีดในเด็ก (CBC/ HCT) ในเด็ก วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) เข้าใจ และสามารถอธิบายถึงประโยชน์ของการกิน การกอด การเล่น การเล่า การนอน และการดูแลสุขภาพฟันของเด็กในแต่ละวัย เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) เข้าใจแนวทาง สามารถคัดกรองและดูแลเด็กที่มีภาวะซีดได้ กิน (เน้นการดูแลสุขภาพ) กอด (ความผูกพัน) เล่น (เล่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ) เล่า (เล่านิทาน) วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ รพ.จิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ หรือศูนย์สุขภาพจิตที่ 9 (กิน กอด เล่น เล่า นอน) กุมารแพทย์ รพช./ รพท./ รพศ. และศูนย์อนามัยที่ 9 (แนวทางการคัดกรองภาวะซีด) ทันตแพทย์ หรือทันตภิบาล รพช./ รพท./ รพศ. และศูนย์อนามัยที่ 9 (สุขภาพฟัน)

Module 8 พัฒนาการเด็ก วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสาคัญของพัฒนาการเด็กแต่ละช่วงวัย และสามารถเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก พร้อมทั้งให้การส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามวัยได้ กุมารแพทย์ มหาราช พญ.ปิยะวรรณ / บุรีรัมย์ พญ.กาญจนา วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ กุมารแพทย์ด้านพัฒนาการ (รพ.มหาราช/ รพ.บุรีรัมย์/ รพ.สุรินทร์) หรือผู้ปฏิบัติงานคลินิกพัฒนาการเด็ก/ WCC รพช./ รพท./ รพศ. และศูนย์อนามัยที่ 9 Child Project Manager (CPM) ระดับเขต จังหวัด และระดับอำเภอ

Module 9 โรคที่พบบ่อยในเด็ก วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เกิดบ่อยในเด็ก สามารถให้คาแนะนำในการดูแลเด็ก เมื่อมีอาการเจ็บป่วยแก่ผู้ปกครองได้ วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา (สคร.9)

Module 10 และ 11 “มหัศจรรย์ 1000 วัน ผูกพันลูกรัก” “แนวคิด Positive Parenting” วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) มีความรู้เรื่องแนวความคิดการเลี้ยงลูกโดยวิธีทางบวก มีความรู้และทักษะในการสร้างความผูกพัน และสร้างระเบียบวินัยให้กับลูกใน 1000 วันแรก เพื่อสร้างความตระหนักในเรื่องการสร้างความผูกพันและระเบียบวินัยให้กับทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ รพ.จิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ หรือศูนย์สุขภาพจิตที่ 9 นครราชสีมา

Module 12 ประกอบด้วย 3 หัวข้อ การเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็ก การให้คำปรึกษา วัตถุประสงค์ ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) สามารถบอกความสาคัญ และกระบวนการของการเยี่ยมบ้านได้ เพื่อให้ทีม CFT มีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมสุขภาพหญิงขณะตั้งครรภ์ จนกระทั่ง ขณะคลอดและเด็ก ทีม CFT มีความรู้ ความเข้าใจถึงหลักการ และความสำคัญของการให้คำปรึกษา รวมถึงสามารถให้คำปรึกษาแก่หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็ก วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเยี่ยมบ้าน (ฝ่ายส่งเสริม หรือ PCU) รพช./ รพท./ รพศ. (รพ.คอนสวรรค์) ผู้ปฏิบติงานเกี่ยวกับ ANC/ PP/ WCC (การให้คำปรึกษา) รพช./ รพท./ รพศ. หรือศูนย์อนามัยที่ 9

Module 12 ประกอบด้วย 3 หัวข้อ ชุดสิทธิประโยชน์ของหญิงตั้งครรภ์และเด็ก 0 – 5 ปี วัตถุประสงค์ ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) เข้าใจ และอธิบายถึงสิทธิประโยชน์ตามสิทธิการรักษาของแม่และเด็กได้ เพื่อให้แม่และเด็กได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ของตนเอง วิทยากรในหัวข้อนี้ คือ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 9 นครราชสีมา ผู้รับผิดชอบงานแม่และเด็ก ระดับเขต และจังหวัด (ศูนย์อนามัยที่ 9)

ขอบคุณค่ะ