สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Performance Management and appraisal systems
Advertisements

วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
Knowledge Management Reform to Innovation in Higher Education for The World Sustainable Development.
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
PowerPoint Template.
Creative Visual Presentation Workshop Communicate clearly, persuasively, and professionally.
Practice File. Our Executive Coaching Program is proven effective. Our customer survey show ROI of coaching can be as high as 3 times the investment value.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็น 1. ที่มาและความสำคัญของสมรรถนะ 2. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
แนวทางการดำเนินงานประกัน คุณภาพการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน การประชุมเชิง ปฏิบัติการ สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือ แรงงาน.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
Skills Development and Lifelong Learning: Thailand in 2010s Tipsuda Sumethsenee Office of the Education Council Thailand’s Ministry of Education.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Professional qualifications in the United Kingdom
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
Education in THAILAND Evidence-based Policy
การฝึกอบรมคืออะไร.
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประชุมชี้แจงแนวทางการประเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 วันพฤหัสบดีที่ 8 ธันวาคม.
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมเจ้าท่า
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติ
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค กุมภาพันธ์ 2554
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
The Balanced Scorecard & KPI
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
Dr. Mano Choondee. By Director of Angthong
การจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และตัวชีวัดระดับบุคคล
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
By Dr. Khunakorn Khongchana Lecturer of English Program
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
ชี้แจงแนวทางการประเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
ความต้องการสารสนเทศ (Information need)
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
Techniques Administration
การประเมินการเรียนการสอน
Line Manager is Leader.
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
การดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
Medical Communication/Counseling Training for the “Trainers” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ธันวาคม 2558.
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
นโยบายการศึกษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21 เมษายน 2559.
สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ

การอาชีวศึกษาเพื่ออนาคต ดร.ชนะ กสิภาร์

การอาชีวศึกษาและฝึกอบรม เป็นการเพิ่มสมรรถนะ ให้กับบุคคลทั้งก่อนทำงานและทำงานแล้ว โดยมีคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อชีวิต

สภาพปัจจุบัน ? ขีดความสามารถในการแข่งขันต่ำ สมรรถนะของแรงงานไทยต่ำ ผลสัมฤทธิ์ของผู้จบการศึกษา ภาคบังคับต่ำ

ไทย ภาพรวมอันดับที่ 32 (27) IMD ปี 2549 (2548) วัดขีดความสามารถในการแข่งขัน 61 (60) ประเทศ ไทย ภาพรวมอันดับที่ 32 (27) เศรษฐกิจโดยรวม 21 (7) ประสิทธิภาพของภาครัฐ 21 (14) ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ 28 (28) - ผลิตภาพ 48 (55) โครงสร้างพื้นฐาน 48 (47) - วิทยาศาสตร์ 53 (56) - เทคโนโลยี 48 (45) - การศึกษา 48 (46)

ระดับการศึกษาของแรงงานไทย 35.8 ล้านคน ไตรมาส 2 /2548 ระดับการศึกษาของแรงงานไทย 35.8 ล้านคน ไตรมาส 2 /2548 ไม่มีการศึกษา 1.267 ต่ำกว่าประถม 11.9 ประถม 7.997 มัธยมต้น 5.138 มัธยมปลาย 3.049 ปวช. 1.27 ปวส. 1.374 อุดม 3.655

OECD - PISA ปี 2547 วัดผลสัมฤทธิ์นักเรียนอายุ 15 ปี Reading (5 ระดับ) ต่ำกว่าระดับ 1 13.5% ระดับ 1 30.5% ถ้าต่ำกว่าระดับ 2 การศึกษามีปัญหา

OECD - PISA ปี 2547 วัดผลสัมฤทธิ์นักเรียนอายุ 15 ปี คณิตศาสตร์ (6 ระดับ) ต่ำกว่าระดับ 1 23.8% ระดับ 1 30.2% Base line คือระดับ 2

OECD - PISA ปี 2547 วัดผลสัมฤทธิ์นักเรียนอายุ 15 ปี วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย 500 คะแนน ญี่ปุ่น 548 ฮ่องกง 539 เกาหลี 538 ไทย 425

OECD - PISA ปี 2547 วัดผลสัมฤทธิ์นักเรียนอายุ 15 ปี การแก้ปัญหา ต่ำกว่า 1 41% (อ่อน) ระดับ 1 40% (ปัญหาพื้นฐาน) ถ้าไม่ได้ระดับ 2-3 ไม่พร้อมที่จะอยู่ในศตวรรษที่ 21

ความต้องการในปัจจุบันและอนาคต? สภาการศึกษา (สกศ) ศึกษา 14 กลุ่มอุตสาหกรรม 473 บริษัท ช่วงกุมภาพันธ์ ถึง สิงหาคม 2548 ผู้เข้าร่วม Focus Group 95 บริษัท จำนวน 1,500 คน

14 กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ แฟชั่น สื่อสาร บริการ ธุรกิจการเงิน บรรจุภัณฑ์ ทรัพยากร เกษตรและอาหาร ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ ของใช้ในครัวเรือน ส่วนตัว เวชภัณฑ์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องคอมพิวเตอร์ อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง พาณิชย์ บันเทิง และสันทนาการ ธุรกิจขนาดกลาง การแพทย์

อนุกรรมการด้านการวางแผนการจัดการศึกษาเพื่อผลิตกำลังคนตามความต้องการของประเทศ สกศ.,ศธ. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เมื่อวันที่ 7-8 สิงหาคม 2549 7 กลุ่มอุตสาหกรรม :  ปิโตรเคมี  อาหาร  ยานยนต์  ท่องเที่ยว  สิ่งทอ  ซอฟต์แวร์  โลจิสติกส์

สภาพการใช้กำลังคน – โครงสร้าง เชิงปริมาณ ผลการศึกษา สภาพการใช้กำลังคน – โครงสร้าง เชิงปริมาณ ระดับสูง : ระดับกลาง : ระดับต่ำ 10 : 20 : 70 งานบริหาร : งานหลัก : งานสนับสนุน 10 : 65 : 25

ความต้องการเชิงคุณภาพ 1) ความรู้และทักษะที่จำเป็น การติดต่อสื่อสาร ภาษาไทย ภาษาอื่น IT การคำนวณเบื้องต้น การใช้ตัวเลข การบริหารจัดการ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา ทำงานเป็นทีมกับคนที่หลากหลาย การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการเชิงคุณภาพ 2) ความรู้และทักษะวิชาชีพ Multi Skills มีประสิทธิภาพสูง พื้นฐานเชิงช่าง คิดริเริ่มสร้างสรรค์ วิธีทำงาน นวัตกรรมของสินค้า และบริการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

ความต้องการเชิงคุณภาพ 3) คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ซื่อสัตย์ จงรักภักดี รักต่อองค์กร อดทน ขยันหมั่นเพียร ประณีต รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เสียสละ ทุ่มเท มีวินัย

ความต้องการเชิงคุณภาพ 3) คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ (ต่อ) ความคิดในเรื่องความคุ้มค่าของการลงทุน กระตือรือร้น มีวุฒิภาวะพร้อมในการปฏิบัติงาน มุ่งมั่น คิดในเชิงบวก มุ่งผลสำเร็จ ใฝ่รู้ มีภาวะผู้นำ

ผู้ใช้กำหนดความต้องการ โดยกำหนด มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) หรือ มาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard)

มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ คือการกำหนดมาตรฐานของ สมรรถนะ ที่คาดหวังว่าบุคลากรจะบรรลุสำหรับ อาชีพหนึ่ง รวมทั้ง ความรู้ / ความเข้าใจ

กระทรวงศึกษาและทักษะของอังกฤษ ให้นิยามของ สมรรถนะ คือ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะปฏิบัติ และทักษะด้านความคิด ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิผลตามมาตรฐานที่ต้องการของอาชีพ

มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ หาได้ 2 วิธี วิเคราะห์อาชีพ (Job Analysis) ให้ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ในรูป งานย่อย (Task) และ งานหลัก (Duty) วิเคราะห์หน้าที่งาน (Functional Analysis) ให้ Functional Map (แผนภูมิหน้าที่งาน)

แผนภาพหน้าที่งาน Functional Map สมรรถนะย่อย Elements Of Competence ความมุ่งหมายหลัก Key Purpose หน้าที่งานหลัก Key Functions บทบาทหลัก Key Roles หน่วย สมรรถนะ Units of Competence เกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขต ร่องรอยหลักฐาน ด้านความรู้ ร่องรอยหลักฐาน ด้านทักษะ

ตัวอย่างแผนภาพหน้าที่งาน อาชีพ : การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรของประเทศอังกฤษ หน้าที่หลัก (Key Functions) ความมุ่งหมายหลัก (Key Purpose) บทบาทหลัก (Key Roles) A1 ระบุความต้องการฝึกอบรมและพัฒนาองค์กร A ระบุความต้องการจำเป็น T&D A2 ระบุความต้องการเรียนรู้ของรายบุคคล พัฒนาศักยภาพ ของมนุษย์ เพื่อ ช่วยเหลือองค์การ และรายบุคคล ให้สัมฤทธิ์ตาม วัตถุประสงค์ B1 ออกแบบยุทธศาสตร์ T&D สำหรับองค์กร B วางแผนและออกแบบ T&D B2 ออกแบบโปรแกรมการฝึกอบรมและพัฒนา B3 ออกแบบและผลิตสื่อการเรียน C จัดการฝึกอบรมและพัฒนา C1 ดำเนินการฝึกอบรมและพัฒนา C2 อำนวยความสะดวกด้านการเรียนรู้รายบุคคลและกลุ่มบุคคล D ทบทวนความก้าวหน้า และประเมินผลสัมฤทธิ์ D1 เฝ้าติดตามและทบทวนความก้าวหน้า D2 ประเมินผลสัมฤทธิ์รายบุคคล D3 ประเมินผลสัมฤทธิ์ของสมรรถนะรายบุคคล E ปรับปรุงประสิทธิภาพ T&D อย่างต่อเนื่อง E1 ประเมินประสิทธิผลภายในองค์กร E2 ประเมินประสิทธิผลโปรแกรมการฝึกอบรม E3 ปรับปรุงการปฏิบัติของตนเองในการฝึกอบรม E4 สนับสนุนให้เกิดความก้าวหน้าในการฝึกอบรม บวกกับหน่วยต่างๆ ด้านการจัดการการ การให้คำปรึกษาและการแนะแนวบุคคล โดยรวมเพื่อการได้รับคุณวุฒิ

ตัวอย่างแผนภาพหน้าที่งาน หน้าที่หลัก (Key Functions) หน่วยสมรรถนะ (Units of Competence) สมรรถนะย่อย/หน่วยย่อย (Elements of Competence) A11 ระบุความต้องการ ทรัพยากรมนุษย์องค์กร A111 ทบทวนจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ A112 ระบุข้อกำหนดความต้องการทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร A1 ระบุความ ต้องการฝึกอบรม และพัฒนาองค์กร A121 ระบุการมีส่วนสนับสนุนเพื่อการพัฒนาองค์การของ การฝึกอบรมและพัฒนาในปัจจุบัน A122 ระบุการมีส่วนสนับสนุนเพื่อการพัฒนาองค์การของ การฝึกอบรมและพัฒนาที่อาจเกิดขึ้นได้ A123 พิจารณากำหนดจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ขององค์ การสำหรับการฝึกอบรมและพัฒนา A124 เพิ่มพันธกรณีเพื่อการสนับสนุนการพัฒนาองค์การของ การฝึกอบรมและพัฒนา A12 กำหนดรายละเอียด การมีส่วนสนับสนุนของการฝึก อบรมและพัฒนาเพื่อการ พัฒนาองค์กร A13 A14

มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ สำหรับประเทศไทย มีโครงการกับออสเตรเลีย ช่วงปี 2538 – 2544 จัดทำมาตรฐานสมรรถนะ 4 อาชีพ ดังนี้: อิเลคโทรนิกส์ ค้าปลีก ยานยนต์ พลาสติก

มีโครงการกับสหราชอาณาจักร พัฒนาวิธีหา มาตรฐานอาชีพ โดยใช้วิธี วิเคราะห์หน้าที่งาน (Functional Analysis) และพัฒนา คุณวุฒิวิชาชีพ (Thai Vocational Qualifications - TVQ)

นักศึกษาปริญญาเอก คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจพ นักศึกษาปริญญาเอก คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจพ. ประสานกับกลุ่มอาชีพ จัดทำ มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ เป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ดังนี้: อาชีพก่อสร้าง/โยธา ดร.สัญชัย อินทพิชัย อาชีพยานยนต์ ดร.สมคิด สายแวว อาชีพงานผลิต (Cutting) ดร.ทองเหมาะ สุภาสืบ อาชีพงานเชื่อม ดร.สุนทร นาคโนนหัน - อาชีพการโรงแรม ดร.รุ่งโรจน์ สีเหลืองสวัสดิ์

นักศึกษาปริญญาเอก คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจพ นักศึกษาปริญญาเอก คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจพ. ประสานกับกลุ่มอาชีพ จัดทำ มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ เป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ดังนี้: อาชีพอัญมณี ผอ.เพิ่มสุข นิติสิงห์ อาชีพเครื่องนุ่งห่ม อ.มนต์ชัย ควรนิยม อาชีพสิ่งทอ อ.มนต์ชัย มนูธาราม อาชีพแม่บ้าน ผอ.อรสา รามโกมุท อาชีพค้าปลีก คุณบัญชา วิชยานุวัติ อาชีพผู้บริหารอาชีวศึกษา อ.สุรพล ดนตรีสวัสดิ์

อังกฤษ – www.ukstandards.org.uk มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ ของต่างประเทศ อังกฤษ – www.ukstandards.org.uk

www.ukstandards.org.uk

FIND OCCUPATIONAL STANDARDS

Travel and Tourism

หน่วยสมรรถนะ Sell Tourism Products and Services

มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ ของต่างประเทศ อังกฤษ – www.ukstandards.org.uk ออสเตรเลีย – www.ntis.gov.au

www.ntis.gov.au

Search

Tourism Units of Competency

มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ ของต่างประเทศ อังกฤษ – www.ukstandards.org.uk ออสเตรเรีย – www.ntis.gov.au ฟิลิปปินส์ – www.tesda.gov.ph

www.tesda.gov.ph

Training Regulations & Other

มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ มาตรฐานการศึกษา รวมทั้งมาตรฐานหลักสูตร ความเชื่อมโยงระหว่าง มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ กับ มาตรฐานการศึกษา ระหว่าง โลกของงาน กับ โลกของการศึกษา ข้อกำหนดอื่นๆ เช่น อายุ สถานที่ ออกแบบงาน คุณลักษณะ กายภาพ สมรรถนะที่ต้อง บรรลุในการ เรียนรู้ ผลลัพธ์ของ การเรียนรู้ -เนื้อหาสาระสอดคล้อง กับผลลัพธ์ของ -การประเมิน -กระบวนการอื่น เช่น ระยะเวลาของหลักสูตร อาคารสถานที่ เครื่องมืออุปกรณ์ บุคลากร ข้อกำหนดอื่นๆ เช่น วิธีสอน วิชาพื้นฐาน สมรรถนะที่ ต้องการ ของอาชีพ แปลง ถ่ายโอน ผลลัพธ์ของ การทำงาน (ผลลัพธ์) (กระบวนการ) มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ มาตรฐานการศึกษา รวมทั้งมาตรฐานหลักสูตร

หลักสูตรเรียกว่า หลักสูตรฐานสมรรถนะ เพราะแปลงมาจาก สมรรถนะ ของ มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ กำหนดโดยเจ้าของอาชีพ

มีโครงการความร่วมมือ ไทย – ฝรั่งเศส เพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษาต่อเนื่อง เริ่มในเดือน กันยายน 2544 โดยพัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะ แปลงมาจากมาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ และพัฒนา ระบบเทียบโอน

เปรียบเทียบหลักสูตรแบบทั่วไปกับหลักสูตรฐานสมรรถนะ 1. ใช้ฐานเนื้อหาวิชา (Content-Based) 1. ใช้ฐานสมรรถนะ แปลงจากมาตรฐานสมรรถนะหรือมาตรฐานอาชีพ (Competency-Based) 2. ใช้ฐานของเวลา (Time-Based) 2. ใช้ฐานของสมรรถนะการทำงาน (Performance-Based) 3. อัตราการทำงานเป็นไปตามกลุ่ม(Group Paced) 3. อัตราการทำงานเป็นแบบรายบุคคล(Individual Paced) 4. ความต้องการเป็นกลุ่มเป็นชั้นเรียน (Group Needs) 4. ความต้องการเป็นรายบุคคล(Individual Needs)

เปรียบเทียบหลักสูตรแบบทั่วไปกับหลักสูตรฐานสมรรถนะ 5. ผลป้อนกลับล่าช้า (Delayed Feedback) 5. ผลป้อนกลับโดยพลัน (Immediate Feedback) 6. ใช้ตำรา หรือ สมุดงาน(Textbook/Workbook Materials) 6. โมดูล และวัสดุสื่อการเรียนการสอน(Modules and Media Materials) 7. ถูกจำกัดประสบการณ์จริง (Limited Field Experience) 7. เรียนรู้ประสบการณ์จากงานจริง(Learning in the Field) 8. สอนโดยการบรรยายหรือสาธิตจากครู (Lectures, Demonstrations) 8. สอนโดยการช่วยเหลือจากวิทยากร(Assistance of Resource Person)

เปรียบเทียบหลักสูตรแบบทั่วไปกับหลักสูตรฐานสมรรถนะ 9. จุดประสงค์กำหนดเป็นจุดประสงค์ทั่วไป (General Objectives) องค์ประกอบของจุดประสงค์ทั่วไปคือพฤติกรรม หรือ behavior (ทำนองที่ว่า มีความรอบรู้มากมาย แต่ทำอะไร เป็นชิ้นเป็นอันไม่ได้ 9. จุดประสงค์กำหนดเป็นจุดประสงค์เฉพาะ (Specific Objectives) องค์ประกอบของจุดประสงค์ที่เป็นปลายทางคือ Element (สมรรถนะย่อย) ซึ่งเป็น Accomplishment (ความสำเร็จ) (ทำนองที่ว่ารู้อะไรแม้จะรู้เพียงอย่างเดียว ฝึกจนเชี่ยวชาญก็จะเกิดผล) 10. เกณฑ์อัตนัย (Subjective Criteria) 10. เกณฑ์ปรนัย (Objective Criteria) 11. ประเมินผลแบบอิงกลุ่ม (Norm-Referenced) 11. ประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced) 12. การรายงานผลการเรียนเป็นระบบเกรด(Final Grades) 12. การรายงานผลการเรียนเป็นแบบสมรรถนะ(Student Competence)

หลักสูตรฐานสมรรถนะ ใช้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) คือ สมรรถนะย่อยจาก มาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ และ หนึ่งหน่วยสมรรถนะ ให้หนึ่งโมดูล

วิธีการพัฒนาโมดูลที่ดี ใช้วิธีการของ Scottish Qualifications Authority (SQA) www.sqa.org.uk

www.sqa.org.uk

National Qualifications (NQ)

NQ Search

Search for a UNIT by TITLE

Tourism

Introduction to Travel and Tourism

องค์ประกอบโมดูลของสก็อตแลนด์ 3 องค์ประกอบ ข้อมูลทั่วไป (General Information) คำอธิบายมาตรฐาน (Statement of Standards) ข้อเสนอแนะสนับสนุน (Support Notes)

องค์ประกอบโมดูลของสก็อตแลนด์ ข้อมูลทั่วไป สรุปข้อมูลของโมดูล ผลลัพธ์ของการเรียนรู้ หน่วยกิต

องค์ประกอบโมดูลของสก็อตแลนด์ คำอธิบายมาตรฐาน มาจากมาตรฐานอาชีพ / มาตรฐานสมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขต ร่องรอยหลักฐานด้านความรู้ / ทักษะ การประเมินสมรรถนะ

องค์ประกอบโมดูลของสก็อตแลนด์ ข้อเสนอแนะสนับสนุน เนื้อหาสาระ (ให้เพียงหัวข้อไม่ต้องมีรายละเอียด) ข้อเสนอแนะวิธีการเรียนการสอน ข้อเสนอแนะการประเมินสมรรถนะ

คุณวุฒิที่วัดสมรรถนะ เรียกว่า คุณวุฒิวิชาชีพ (Thai Vocational Qualifications - TVQ) แบ่งเป็น 7 ระดับ เป็นส่วนหนึ่งของ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ

ป.ตรี ประยุกต์ 2 ป.ตรี ประยุกต์ 1 กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (National Qualification Framework ; NQF) คุณวุฒิการศึกษา คุณวุฒิวิชาการ คุณวุฒิวิชาชีพ ระดับ ปริญญาเอก 7 ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ หรือผู้ชำนาญพิเศษ ผู้บริหารระดับสูงถึงระดับอาวุโส ปริญญาโท 6 ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้บริหารระดับกลาง ปริญญา ตรี ป.ตรี ประยุกต์ 2 ป.ตรี ประยุกต์ 1 5 ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้บริหารระดับต้น อนุปริญญา ปวส. 2 ปวส. 1 4 ผู้ควบคุมดูแล หรือหัวหน้างาน, นักเทคนิค ม.ปลาย ปวช. 3 ปวช. 2 ปวช. 1 3 ผู้ชำนาญงาน หรือหัวหน้างาน 2 ผู้ปฏิบัติงานฝีมือเฉพาะทาง 1 ผู้ปฏิบัติงานอาชีพซึ่งใช้ทักษะพื้นฐาน ม. ต้น

Bonn Declaration ของ UNESCO-UNEVOC Education is KEY to effective development strategies TVET is MASTER KEY to alleviate poverty, promote peace, conserve the environment, improve the quality of life for all and help achieve sustainable development.

ขอบคุณครับ ขอบคุณค่ะ