เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำหนังสือใหม่ กรกฎาคม 2555
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Good Morning.
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
งานประชาสัมพันธ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี ฉบับที่ 193 ประจำเดือนกรกฎาคม 2558 การประชุมปิดภาคการศึกษา 2/2557 ผศ. ดร. สิริแข พงษสวัสดิ์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดโครงการอบรมเชิง.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
“มุ่งสู่ระบบธรรมาภิบาลในสหกรณ์”
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
1. พระอธิการสังคม ฐิติญาโณ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
เข้าใจตนเอง เข้าใจสาขา
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สรุปผลการปฏิบัติงานประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2559
(Code of Ethics of Teaching Profession)
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย การประชุมวิชาการครั้งที่ 1/2561 เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย Early Life Nutrition Network Thailand วันพฤหัสบดีที่ 5 และวันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม 2561 เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมนานาชาติ ชั้น 2 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี

กำหนดการประชุมวันที่ 5 “เบาหวานในมารดา” 09:00 – 09:30 ปัญหา ความสำคัญและการวินิจฉัยภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 09:30 – 10:00 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ รศ.พญ.จรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 10:00 – 10:30 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานก่อนการตั้งครรภ์ (Overt DM) ต้องดูแลและทำอย่างไร? ผศ.พล.ท.หญิง จุฑาวดี วุฒิวงศ์ โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า 10:30 – 11:00 พักรับประทานอาหารว่าง 11:00 – 11:30 โภชนบำบัดในการรักษาโรคเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์ ผศ.พญ.ศานิต วิชานศวกูล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 11:30 – 12:15 วิตามินแร่ธาตุในช่วงแรกของชีวิต:ความท้าทายของสาธารณสุขของโลก                                      รศ.ดร.พัตธนี วินิจจะกูล สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 12:15 – 13:15 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:15 – 15:30 Workshop (สถานที่ ชั้น 4 ห้อง 4006 และ ห้อง 4007) ฐานที่ 1 การจัดอาหารและอาหารแลกเปลี่ยนสำหรับผู้ป่วยตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน คุณเบญจพรรณ บุรพัตร และ คุณจุฑามาศ ทองลิ่ม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ฐานที่ 2 ฉลากโภชนาการอ่านเป็น คุมเบาหวานได้ คุณชมชนก ศรีจันทร์ และ คุณฟารีดา อยู่ดี โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ฐานที่ 3 ฐานเบาหวานเจาะน้ำตาล พ.ว.ปุญญาดา ณปัณพัฒน์ และ นายจรรยา บุตรครุฑ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ฐานที่ 4 ฐาน (SMBG) การฉีดยาอินซูลิน พ.ว.ณัฏฐธมน ธนธรณ์กีรติ และ ภก.ณัฐสุดา หลักเพชร โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 15:30 – 16:00 ปิดการประชุม

กำหนดการประชุมวันที่ 6 “โภชนาการในช่วงแรกของชีวิต” 09:00 – 09:30 ภาวะขาดอาหารเฉียบพลัน: ปัญหาใกล้ตัวที่พบบ่อย รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09:30 – 10:00 ภาวะขาดอาหารเฉียบพลัน: แนวทางการดูแลรักษา อ.พญ.จีรพรรณ โพธิ์สุวัฒนากุล โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 10:00 – 10:30 ภูมิแพ้ที่ทำให้เกิดปัญหาการเจริญเติบโตในเด็ก ศ.พญ.จรุงจิตร์ งามไพบูลย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 10:30 – 11:00 พักรับประทานอาหารว่าง 11:00 – 11:30 โภชนาการเพื่อความสูงเต็มศักยภาพ พ.อ.เรืองวิทย์ ตันติแพทยางกูร โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า 11:30 – 12:00 วิตามิน ดี กับโภชนาการช่วงแรกของชีวิต                                      รศ.พญ.อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 12:00 – 12:30 สังกะสี กับโภชนาการช่วงแรกของชีวิต รศ.ดร.พญ.นลินี จงวิริยะพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 12:30 – 13:30 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:30 – 15:30 Workshop (สถานที่ ชั้น 4 ห้อง 4006 และ ห้อง 4007) ฐานที่ 1 อาหารสำหรับทารก พญ.จิตติมา มนต์วิรัตน์นุกล และ นางสาวสุธิดา ชาติวุฒินันท์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ฐานที่ 2 อาหารตามวัย พญ.สิรินภา ศิวารมณ์ และ นางสาวประดับดวง เส้นเถาว์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ฐานที่ 3 อาหารแลกเปลี่ยน และฉลากโภชนาการ พ.ว.พรรณเพ็ญ พูนลาภเดชา โรงพยาบาลรามาธิบดี ฐานที่ 4 Kid Diary นางสาวภูริศา เวชรักษ์ นักวิชาการโภชนาการ โรงพยาบาลรามาธิบดี 15:30 – 16:00 ปิดการประชุม

ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด ผู้เข้าร่วมประชุมรวม 457(275+182) ท่าน จากโรงพยาบาล/หน่วยงานสาธารณสุข จาก 20 จังหวัด จังหวัดอื่นๆ สุรินทร์ 1 ตาก 1 นครราชสีมา 1 ภูเก็ต 2 1 7 7 8 1 6 7 137 6 3 6 1 1 11 88 9 ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด

ประมวลภาพ วิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุม

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ 1 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ 1. ความพร้อมของการจัดประชุมวิชาการ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ 2 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ 2. ประเมินผลทางวิชาการที่ได้รับ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100 ใบ 3 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100 ใบ 3. การประเมินผลวิทยากรตามหัวข้อ วันที่ 5 เบาหวาน พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 95 ใบ 3 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 95 ใบ 3. การประเมินผลวิทยากรตามหัวข้อ วันที่ 6 โภชนาการในช่วงแรกของชีวิต พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ ความชื่นชม การประชุมจัดได้ดีมาก ได้ความรู้และสามารถนำไปใช้ได้มาก มีความประทับใจการจัดงาน เอกสาร การเตรียมงาน อาหารกลางวัน อาหารเบรกประทับใจมาก อยากให้ อ.วิทยา เป็นวิทยากรทุกปีที่มีการจัดประชุมเพราะอาจารย์สอนดีมากหๆ เข้าใจง่ายมองภาพได้ชัดเจนดีมาก สถานที่ดีเยี่ยมเหมาะสม เครื่องเสียงไมค์มีความชัดเจน มองเห็นผู้บรรยายได้ดีมาก จัดที่เดิมอีก ภาพรวมมีความประทับใจในการจัดงาน มีการอัพเดตความรู้สำหรับผู้ปฏิบัติงานจริง การดูแลของเจ้าหน้าที่ดีและใส่ใจผู้เข้าอบรม

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ ข้อเสนอแนะ ผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่านควรได้ทำ Workshop เพื่อให้ทุกท่านได้รับความรู้และหลักการปฏิบัติที่ถูกต้อง (10 ความเห็น) วิทยากรกับเวลาไม่พอดี ทำให้เลยเวลามาก (2 ความเห็น) เริ่มช้า และ เลิกช้า (ช่วงเช้า) ถ้าเป็นไปได้ควรเริ่ม 8:30 น. (2 ความเห็น) ระยะเวลาในแต่ละหัวข้อสั้นเกินไปกับเนื้อหามากมาย (5 ความเห็น) น่าจะจัด 3 วัน แม่/เด็ก/อื่นๆ เนื้อหาในเล่มไม่มีเรื่องสังกะสี เนื้อหาแน่นมาก ทำให้การพักเบรคช้า ทำให้ขาดสมาธิเพราะน้ำตาลต่ำ ควรรักษาเวลาให้อยู่ในช่วงตามกำหนดการ จัดตารางการอบรมด้วยวิชาการข้อการบรรยายน่าสนใจ และสามารถนำไปปรับใช้ได้ดีมาก ด้วยเวลาการบรรยายน้อยมาก เสนอแนะจัดคราวหน้า workshop จัดเวลา 14.00 น. เลื่อเวลามาและการบรรยายลงมาช่วงบ่าย ทำให้ช่วงเช้าจะได้ไม่แน่นมาก เพราะเวลาที่น้อยมีผลต่อเนื่องการบรรยาย วันสุดท้ายของการประชุมอยากให้มีการจับรางวัลลุ้นโชค เพื่อเป้นขวัญและกำลังใจ เล็กๆ น้อย กับผู้เข้าร่วมประชุม และเป็นการดึงดูดผู้ฟังบรรยายจนจบ

การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 100+95 ใบ หัวข้อการประชุมอื่นๆที่สนใจ การดูแลภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งระยะต่างๆ โรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์อื่นๆ เช่น precelmotion hellp syndrame กับการให้โภชนบำบัด เป็นต้น anemia/ธาลัสซีเมีย การทำกิจกรรมกลุ่ม Diet control, Ambulatory diet therapy การดูแลโภชนาการเด็กที่กินนมผง ทำไมเด็กทานเยอะแล้วยังมีภาวะผอมและเตี้ย ปัญหาเด็กอ้วนในประเทศไทย, การให้คำแนะนำผู้ปกครองที่มีลูกอ้วน เมนูอาหารเสริมและการดัดแปลงเมนูอาหารสำหรับเด็กเบื่ออาหาร การให้คำแนะนำโภชนาการมารดาตั้งครรภ์ในแต่ละไตรมาสของการตั้งครรภ์ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง หรือภาวะทางสูติฯ ฉุกเฉิน อาหารกับผู้สูงอายุ/อาหารกับสตรีวัยทอง