งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
การประชุมวิชาการครั้งที่ 4/2560 เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย Early Life Nutrition Network Thailand วันจันทร์ที่ 18 ธันวาคม 2560 เวลา น. ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ ชั้น 6 อาคารบ้านคุณพุ่ม โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

2 รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
กำหนดการประชุมวิชาการ 09:00 – 09: โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์: Iron metabolism รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 09:30 – 10: โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก : ปัญหาในระดับโลกและกรณีตัวอย่างจากประเทศต่างๆ รศ.ดร.เอมอร อุดมเกษมาลี สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 10:00 – 10: โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กและผู้หญิงไทย : ปัญหายิ่งใหญ่ที่ต้องรับการแก้ไข รศ. ดร.พัตธนี วินิจจะกูล สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 10:30 – 10: พักรับประทานอาหารว่าง 10:45 – 11: โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์: จะป้องกันและตรวจวินิจฉัยได้อย่างไร? รศ.พญ.จรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 11:15 – 11: โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์: จะดูแลรักษากันอย่างไร?                                      พล.ท. หญิง จุฑาวดี วุฒิวงศ์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 11:45 – 12: เด็กอ้วนที่เป็นภูมิแพ้: มหันตภัยร้ายที่คาดไม่ถึง ศ.พญ.จรุงจิตร์ งามไพบูลย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12:15 – 13: พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:15 – 13: โรคอ้วนในเด็ก: วินิจฉัยอย่างไร เมื่อไรรักษา เมื่อไรส่งต่อ? ผศ.พญ. พัชราภา ทวีกุล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 13:45 – 14: โรคอ้วนในเด็ก: แนวทางการให้โภชนบำบัด รศ.ดร.พญ.นลินี จงวิริยะพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 14:15 – 14: คลินิกเด็กสุขภาพดี: ช่องทางใหม่เพื่อโภชนาการที่ถูกต้อง รศ.พญ.อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 14:45 – 15: เลี้ยงลูกอย่างไรให้ไกลอ้วน รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15:15 – 15: สรุปการบรรยายและปิดการประชุม โดยคณะวิทยากร

3 ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด
ผู้เข้าร่วมประชุม 228 ท่าน จากโรงพยาบาล /รพ.สต. /หน่วยงาน 56 แห่งจาก 4 จังหวัด 4 38 21 7 181 25 3 167 4 40 ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด

4 ประมวลภาพ วิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุม

5 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 1
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 1. ความพร้อมของการจัดประชุมวิชาการ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

6 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 2
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 2. ประเมินผลทางวิชาการที่ได้รับ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

7 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 3
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ 3. การประเมินผลวิทยากรตามหัวข้อ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด

8 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ ความชื่นชม
ดีมากค่ะ อยากให้จัดแบบนี้อีก สถานพยาบาลมีหลายระดับในการดูแลสุขภาพ โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์บางอย่างในสถานพยาบาลระดับ รพ.สต. ไม่มีใช้ ต้องใช้มือในการให้บริการ เช่น การแปรผลกราฟโภชนาการในเด็ก จึงต้องใช้เวลาในการปฏิบัติ (ขอชื่นชม PHB Kiddiarny โดยใช้โทรศัพท์มือถือ) ควรมีการประชุมวิชาการแบบนี้ทุกปี และควรมี CNEU หน่อย คะแนนให้พยาบาลด้วยนะคะ ขอบคุณอย่างสูงค่ะ ขอขอบคุณการจัดครั้งนี้ ทำให้เข้าใจการแปรผล Lab มาขึ้นเลยค่ะ

9 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ ข้อเสนอแนะ
เนื้อหาน่าสนใจมากๆ และสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้มาก น่าจะมีการอบรมสัก 2 วัน (10) อาจารย์สอนดีมาก แต่ให้เวลาแต่ละท่านน้อยเกินไป ทำให้ต้องสอนเร็วฟังไม่ค่อยทันค่ะ(5) หนังสือที่ประกอบอบรมดีค่ะ ตาควรมีเอกสารที่อาจารย์แต่ละท้านสอนด้วย เนื่องจากเนื้อหาน่าสนใจ เพิ่มทักษะในการทำงานได้ นำไปใช้ได้ เพราะเนื้อหามาก และเวลาน้อยต้องใช้เวลาในการบรรยายเร็ว (บันทึกไม่ทัน) บาง heading ควรให้เวลาเยอะกว่านี้ เนื้อหาอัดแน่นจนเกินไป เนื้อหาตามแต่ละเรื่องควรจัดแบ่ง 2 วัน เพราะเป็นเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจกันมากๆ เนื้อหาวิชาการมีมากควรจะขยายาเวลาในการอบรบ ประกอบกับวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถถ่ายทอดได้ดี แต่มีเวลาจำกัด จากการประชุม ประเด็นการดูแลภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ อยากให้ผู้จัดผลักดันให้มีการใช้เป็นแนวทางที่เหมือนกันในพื้นที่

10 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 112 ใบ หัวข้อการประชุมอื่นๆที่สนใจ
ควรมีการอบรมเกี่ยวกับงานโภชนาการในเด็ก (เน้นงานในชุมชน) แนวทางทางการให้คำแนะนำด้านโภชนาการบำบัดในกรณีเพื่อสามารถนำไปใช้แนะนำกลุ่มเป้าหมายได้ อยากให้เพิ่มหัวข้อ "หลังคลอด" มากกว่านี้ ภูมิแพ้, ผิวหนังในเด็ก และวัคซีน โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่น้ำหนักขึ้นน้อย การป้องกันการเกิดภูมิแพ้จากนมวันในทารก อาการทางคลินิกและการดูแล (ตอนนี้มีปัญหานี้เยอะมากกว่าจะวินิจฉัยเจอเด็กได้รับการรักษาแบบ allerg bronchitis มาก)


ดาวน์โหลด ppt เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google