ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting ห้องคลอด โรงพยาบาลลำพูน
ผู้ร่วมวิจัย 1. อัจฉรา ชาติ 2. จารุวรรณ อารินทร์ 3. วิภาภรณ์ วงศ์จันทร์
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้คลอด ภายหลังคลอดโดยท่า semi-squatting
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ปรับปรุงและ ปรับเปลี่ยนท่าคลอดให้เหมาะสม 2. เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาพัฒนาแนวปฏิบัติโดย ใช้แนวทางการวิจัยต่อไป
รูปแบบการศึกษา ศึกษาโดยการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ จำนวนครั้งของการคลอด, อายุครรภ์, น้ำหนักก่อนคลอด, ระยะเวลาเบ่งคลอด, วิธีคลอด, น้ำหนักทารก, APGAR’ Score, ความพึงพอใจของผู้คลอด
สถานที่ ห้องคลอด โรงพยาบาลลำพูน เดือนกรกฏาคม-กันยายน 2553
กลุ่มตัวอย่าง ศึกษาผู้คลอดที่มารับบริการห้องคลอด โรงพยาบาลลำพูนเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2553 จำนวน 12 ราย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. รูปภาพการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting 2. แบบฟอร์มการเก็บข้อมูล
วิธีการเก็บข้อมูล ระยะรอคลอด ระยะคลอด อธิบายท่าคลอด ดูรูปภาพประกอบ จัดท่าคลอดแบบ semi-squatting ปฏิบัติตามมาตรฐานการดูแลผู้คลอดและทารก ในระยะคลอดและประเมินการพยาบาล
วิธีการเก็บข้อมูล ระยะหลังคลอด ประเมินความพึงพอใจของผู้คลอด เก็บรวบรวมข้อมูลตามแบบฟอร์มการเก็บข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ
จำนวนครั้งของการคลอด (Parity) ผลการวิจัย จำนวนครั้งของการคลอด (Parity) จำนวน ร้อยละ 7 58.33 1 5 41.67
ผลการวิจัย อายุครรภ์ (สัปดาห์) จำนวน ร้อยละ 37-42 12 100.00
น้ำหนักก่อนคลอด(กิโลกรัม) ผลการวิจัย น้ำหนักก่อนคลอด(กิโลกรัม) จำนวน ร้อยละ 50.00-59.99 4 33.33 60.00-69.99 5 41.67 70.00-79.99 3 25.00
ระยะเวลาเบ่งคลอด (นาที) ผลการวิจัย ระยะเวลาเบ่งคลอด (นาที) จำนวน ร้อยละ น้อยกว่า 10 2 16.67 11-30 9 75.00 30 ขึ้นไป 1 8.33
ผลการวิจัย วิธีคลอด จำนวน ร้อยละ N/D 11 91.67 C/S 1 8.33
ผลการวิจัย น้ำหนักทารก (กรัม) จำนวน ร้อยละ 2500-3499 11 91.67 3500 ขึ้นไป 1 8.33
ผลการวิจัย APGAR’s score จำนวน ร้อยละ 8-10 12 100.00
ความพึงพอใจของผู้คลอด ผลการวิจัย ความพึงพอใจของผู้คลอด จำนวน ร้อยละ ปานกลาง 5 41.67 มาก 7 58.33
สรุป ผู้คลอด ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก ให้ข้อเสนอแนะ ดังนี้ “…รู้สึกอยากเบ่งมากขึ้น…” “…เหมือนช่องคลอดกว้างขึ้น…” “…รู้สึกมีการเคลื่อนต่ำของทารก…” “…มีที่จับมือ ทำให้มีแรงเบ่งมากขึ้น…”
ข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งต่อไป เพิ่มขนาดกลุ่มตัวอย่าง, ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล เปรียบเทียบกับผู้คลอดที่คลอดท่าคลอดแบบเดิม พัฒนารูปแบบท่าคลอดที่เหมาะสม ผู้ปฏิบัติต้องระมัดระวังเรื่องการ contaminate
ขอบคุณค่ะ