กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
Advertisements

How to write impressive SAR
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
PDCA คืออะไร P D C A.
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
การเพิ่มผลผลิต Productivity
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
SELF-ASSESSMENT REPORT Department of Medicine. SAR Plan-Do-Follow-Evaluate-Improve.
เกณฑ์การประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญ การพิเศษ / เชี่ยวชาญ.
NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. แนวทางการขับเคลื่อน.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
Report การแข่งขัน.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
ลดข้อผิดพลาด รวดเร็ว สมบูรณ์
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
ณ ห้องประชุมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
เส้นทางห้องสมุดสีเขียวสู่สำนักงานสีเขียว
Techniques Administration
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
แนวทางการจัดทำรายงาน
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
รายงานการประเมินตนเอง
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
Educational Standards and Quality Assurance
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทที่ 1 บทนำเรื่องคุณภาพ.
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
แนวทางปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ทำหน้าที่งบประมาณ
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑ กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑ ศน.นรากร เพ็งผ่อง

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ 1.การประเมิน คุณภาพภายใน 2.การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา 3.การพัฒนา คุณภาพ การศึกษา การ ประกัน คุณภาพ ภายใน

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา... กระทำโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นและติดตาม ตรวจสอบหน่วยงานต้นสังกัด การประเมิน คุณภาพภายใน

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ กระบวนการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของ การปฏิบัติตามแผน... และจัดทำรายงานการติดตามตรวจสอบ... พร้อมทั้งเสนอมาตรการเร่งรัด การพัฒนาคุณภาพการศึกษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ กระบวนการพัฒนาการศึกษา เข้าสู่คุณภาพที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและโครงสร้าง การวางแผน และการดำเนินงานตามแผน รวมทั้งการสร้างจิตสำนึก...และความรับผิดชอบร่วมกันทุกคน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ การประกันคุณภาพภายใน การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง โดยหน่วยงาน ต้นสังกัดมีหน้าที่ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนำสถานศึกษานั้น

หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในขั้นพื้นฐาน กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (ค่าเป้าหมาย) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

การประกันคุณภาพการศึกษา ชั้นเรียน มาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียนและ สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการจัดการเรียนรู้ พัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โรงเรียน มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินงานตามแผนฯ ติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เขียนรายงานประจำปี พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง PLAN DO CHECK ACT

ประกาศคณะกรรมการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เรื่อง แนวปฏิบัติดารดำเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาระดับ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

การดำเนินงานของสถานศึกษา 1. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา 1.1 ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานและ ประเด็นว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใช้ 1.2 พิจารณาสาระสำคัญที่จะกำหนด ในมาตรฐานและประเด็น ที่สะท้อนอัต ลักษณ์และมาตรการส่งเสริมของ สถานศึกษา

การดำเนินงานของสถานศึกษา 1.3 กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของแต่ละ มาตรฐานและประเด็นพิจารณา 1.4 ประกาศค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและ ประเด็นพิจารณาว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาให้กลุ่มผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและ ภายนอกรับทราบ ทั้งนี้ สถานศึกษาอาจกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาเพิ่มเติม นอกเหนือจากที่ กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้ (ตัวอย่าง)

การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศ ค่าเป้าหมาย หมายถึง การที่สถานศึกษาโดยผู้บริหาร ครู บุคลากร คณะกรรมการ ฯลฯ ร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษา ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ เพื่อนำมาใช้ ในการเทียบเคียงกำหนดเป็นมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา และกำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของการดำเนินการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

การดำเนินงานของสถานศึกษา 2.การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาที่ มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา 2.1 ให้สถานศึกษาจัดทำแผนพัฒนาการจัด การศึกษา ดังนี้ 2.1.1 ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความ ต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบโดยใช้ ข้อมูลตามสภาพจริงและข้อเสนอแนะจาก สมศ.รอบ สาม 2.1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย ด้านต่างๆ โดย มีจุดเน้นที่คุณภาพผู้เรียน ที่ สะท้อนคุณภาพความสำเร็จที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

การดำเนินงานของสถานศึกษา 2.1.3 กำหนดวิธีการดำเนินงาน กิจกรรม/โครงการ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดย ใช้กระบวนPDCA กระบวนการวิจัยหรือผลการวิจัยหรือ ข้อมูลที่อ้างอิงได้ให้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ 2.1.4 กำหนดแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นจาก ภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ

การดำเนินงานของสถานศึกษา 2.1.5 กำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนให้บุคลากร ของสถานศึกษาและผู้เรียน ร่วมรับผิดชอบและดำเนินงาน ตามที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.1.6 กำหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วน ร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครอง องค์กร หน่วยงาน ชุมชน และท้องถิ่น 2.1.7 กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพ ให้สอดคล้องกับกิจกรรม/โครงการ 2.1.8 เสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และหรือ คณะกรรมการสถานศึกษา และหรือ คณะกรรมการ บริหารสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ

การดำเนินงานของสถานศึกษา 2.2 ให้สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติ การประจำปี ดังนี้ 2.2.1 จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้อง กับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2.2.2 ให้กำหนดปฏิทินการนำแผนปฏิบัติการ ประจำปีไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน 2.2.3เสนอแผนปฏิบัติการประจำปีต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และหรือ คณะกรรมการสถานศึกษา และหรือ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาให้ความ เห็นชอบ

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เป้าหมาย/ ภาพความสำเร็จ * บุคลากร * บริหารจัดการ * บทบาทบุคลากร * การมีส่วนร่วม พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน * งบประมาณ * หลักสูตร * การเรียนรู้ * วัดประเมินผล * นวัตกรรม/สื่อ ฯลฯ * มหาวิทยาลัย * พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน แผนปฏิบัติการ ประจำปี แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เป้าหมาย/ ภาพความสำเร็จ สภาพปัญหา ความจำเป็น วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลวิจัย ข้อมูลเชิงประจักษ์ แหล่งสนับสนุน วิชาการ

การดำเนินงานของสถานศึกษา 3. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินการดังนี้ 3.1 จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงาน ของสถานศึกษาที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 3.2 กำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบ สารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็น ปัจจุบัน สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ หรือการเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานต้นสังกัด 3.3 นำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ใน การบริหารและการพัฒนาการเรียนการสอน

การดำเนินงานของสถานศึกษา 4. การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา ดำเนินการดังนี้ 4.1 นำแผนปฏิบัติการประจำปีแต่ละปีสู่การ ปฏิบัติ ตามกรอบระยะเวลา และกิจกรรม/โครงการที่ กำหนดไว้ 4.2 ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ได้กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด

การดำเนินงานของสถานศึกษา 5. การจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา ดำเนินการดังนี้ 5.1 กำหนดผู้รับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา 5.2 ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทั้ง ระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา อย่างน้อยภาค เรียนละ 1 ครั้ง 5.3 รายงานและนำผลการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุง พัฒนา 5.4 เตรียมการและให้ความร่วมมือในการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงาน ต้นสังกัด

การดำเนินงานของสถานศึกษา 6.การจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ดำเนินการดังนี้ 6.1 ให้มีคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน อย่างน้อย 3 คน ที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่หน่วยงานต้น สังกัดขึ้นทะเบียนไว้อย่างน้อย 1 คน เข้ามามีส่วน ร่วมในกระบวนการประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.2 ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยใช้วิธีการ และเครื่องมือที่หลากหลายและเหมาะสม

การดำเนินงานของสถานศึกษา 7. การจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน ดำเนินการดังนี้ 7.1 สรุปและจัดทำรายงานประจำปีที่เป็น รายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ สะท้อนคุณภาพผู้เรียนและผลสำเร็จของการบริหาร จัดการศึกษาตามรูปแบบที่หน่วยงานต้นสังกัด กำหนด (ตัวอย่าง) 7.2 นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และหรือคณะกรรมการ สถานศึกษา และหรือ คณะกรรมการบริหาร สถานศึกษาให้ความเห็นชอบ 7.3 เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

การดำเนินงานของสถานศึกษา 8. การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง ดำเนินการดังนี้ 8.1 ส่งเสริมแนวความคิดเรื่องการประกันคุณภาพ การศึกษาที่มุ่งการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ให้เกิดขึ้นกับครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา และ พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จนเป็น วัฒนธรรมคุณภาพในการทำงานปกติของสถานศึกษา 8.2 นำผลการประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษา จากการประเมินตนเองหรือจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเลือกสรรข้อมูล สารสนเทศเพื่อนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาการบริหารและการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง 8.3 เผยแพร่ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เกิดการพัฒนา

การประเมินตนเองของสถานศึกษา รายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report: SAR)

การจัดทำรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ขั้นตอน การจัดทำรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ๑. แต่งตั้งคณะทำงาน 2. รวบรวมข้อมูสารสนเทศ 3. เขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๔.นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบ 5. รายงานและเปิดเผยต่อผู้เกี่ยวข้อง

โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) นำเสนอข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพได้ตามความเหมาะสม วิธีนำเสนอเป็นความเรียง ตารางประกอบความเรียง บรรยายประกอบแผนภูมิ รูปภาพ หรือกราฟ ฯลฯ ตามลักษณะของข้อมูล ใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย กระชับ สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐาน สาระสำคัญของรายงานฯ แบ่งเป็น 4 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการ การช่วยเหลือ ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก

โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลครูและบุคลากร ข้อมูลนักเรียน สรุปข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน ฯลฯ ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ● มฐ.ที่ ๑ คุณภาพของเด็ก /ผู้เรียน ● มฐ.ที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของ ผู้บริหารสถานศึกษา ● มฐ.ที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ● ผลการประเมินภาพรวม   ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการ การช่วยเหลือ จุดเด่น จุดควรพัฒนา แนวทางการพัฒนาในอนาคต ความต้องการ   ส่วนที่ 4 ภาคผนวก ● หลักฐานข้อมูลสำคัญ เอกสารอ้างอิงต่างๆ

โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลครูและบุคลากร ข้อมูลนักเรียน สรุปข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน สรุปการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา ข้อมูลงบประมาณ สภาพชุมชนโดยรวม สรุปผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ ฯลฯ

โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ● มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ● มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของ ผู้บริหารสถานศึกษา ● มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นเด็ก เป็นสำคัญ ● ผลการประเมินภาพรวม

โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ● คุณภาพของผู้เรียน ● มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของ ผู้บริหารสถานศึกษา ● มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ ● ผลการประเมินภาพรวม

โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ส่วนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการ การช่วยเหลือ ● จุดเด่น ● แนวทางการพัฒนาในอนาคต ● ความต้องการการช่วยเหลือ ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก ●หลักฐานข้อมูลสำคัญ เอกสารอ้างอิงต่างๆ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) ระดับการศึกษาขั้นปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา ........... โรงเรียน ........................................