งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2 จุดเน้นที่ 3 ยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษา “การทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา”
สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

3 เลิกทำแฟ้มข้อมูล ที่ไม่จำเป็น

4 เลิกก้มหน้าก้มตาตรวจสอบเอกสารที่ทำขึ้นเพื่อประเมิน เป็นภาระของโรงเรียน และลวงตาว่ามีคุณภาพ

5 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559)

6 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

7 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559) มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

8 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพของมาตรฐานมี 4 ระดับ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพของมาตรฐานมี 4 ระดับ ระดับ 4 ดีเยี่ยม ระดับ 3 ดี ระดับ 2 พอใช้ ระดับ 1 ปรับปรุง

9 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
รายละเอียดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบระดับชาติ ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทำงานตามช่วงชั้น 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม

10 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
รายละเอียดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ๑. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2.1 การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมายและดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม 2.2 การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.3 การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ 2.4 การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มี คุณภาพและได้มาตรฐาน ๔. การกำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา

11 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
รายละเอียดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม 2. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น 3. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น

12 แนวทางการดำเนินงานหลังจากมีประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 อ้างถึง หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ 04004/ว62 ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2559 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา แจ้งให้สถานศึกษาดำเนินการ ดังนี้ 1. สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้มาตรฐานฯ ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 เป็นกรอบในการวางแผน และพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา - การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา - การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการฯ (วิเคราะห์ความเชื่อมโยง ของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ได้ดำเนินการตามกรอบมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ฉบับใหม่ ปรับแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อมุ่งสู่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาภายใต้กรอบ 4 มาตรฐาน) - การจัดทำ SAR

13 แนวทางการดำเนินงานหลังจากมีประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 (ต่อ) 2. สถานศึกษาควรดำเนินการสื่อสารและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสาระสำคัญ ของมาตรฐานการศึกษาฯ 3. สถานศึกษาควรวิเคราะห์และทบทวนความสอดคล้องและความเชื่อมโยงของมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ใช้อยู่เดิมกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ฉบับใหม่ฯ *** อาจกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้ โดยสะท้อนถึงอัตลักษณ์ จุดเน้นของสถานศึกษา และนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ***

14 แนวทางการดำเนินงานหลังจากมีประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 (ต่อ) 4. ควรดำเนินการประชาพิจารณ์จากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 5.ให้ประกาศมาตรฐานและค่าเป้าหมายให้กลุ่มผู้เกี่ยวข้องรับทราบ และจัดทำเป็นประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีการลงนามในประกาศโดยผู้บริหารสถานศึกษาและให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รับรู้ร่วมกัน 6. ให้มีการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กำหนด

15 16 หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐาน เป็นไปตามหลักการตัดสิน โดยอาศัย ความเชี่ยวชาญของผู้ประเมิน (Expert judgment) มีเป้าหมายการประเมินเพื่อการพัฒนา เป็นการประเมินคุณภาพที่เน้นการประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา (Evidence based) ลดภาระการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารที่ไม่จำเป็นในการประเมิน มีความน่าเชื่อถือ และสามารถตรวจสอบผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษานั้นๆ เลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม และสะท้อนคุณภาพการดำเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน ตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (Peer Review) โดยเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐาน ที่กำหนดไว้ ผู้ประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้าน และวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในคณะกรรมการผู้ประเมิน เพื่อการตัดสินให้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด

16 16 หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องตรวจสอบและประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษาที่แท้จริง ผู้ทำหน้าที่ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาดำเนินการประเมินคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาและประเด็นที่กำหนด ให้ความสำคัญกับการประเมินเชิงคุณภาพ แต่ก็ยังอาศัยการประเมินเชิงปริมาณ การตัดสินคุณภาพของสถานศึกษาให้ใช้เกณฑ์การให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการที่ไม่แยกส่วน หรือแยกองค์ประกอบในการกำหนดคะแนนประเมิน แต่เป็นการประเมินในภาพรวมของผลการดำเนินงาน หรือกระบวนการดำเนินงานในภาพรวม (Holistic Rubrics) แจ้งผลการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรุปและเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment)

17 นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและต้นสังกัด
16. หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาสรุปและจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียนและผลสำเร็จของ การบริหารจัดการศึกษา นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและต้นสังกัด เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกตามแนวทางการประกันคุณภาพภายใน

18 ความก้าวหน้าเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
 การประกันคุณภาพในสถานศึกษา  การประเมินภายนอก

19 การประกันคุณภาพในสถานศึกษา
 มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย   เตรียมจัดประชุมปฏิบัติการปรับมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (4 มาตรฐาน) เพื่อนำเสนอ - สภาปฏิรูปการศึกษา - คณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ของ สพฐ. - คณะที่ปรึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ - คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. (กพฐ.) - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ลงนาม  คาดว่าจะดำเนินการให้แล้วเสร็จทันปีการศึกษา 2560

20 การประกันคุณภาพในสถานศึกษา
 เอกสารเพื่อการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา   เอกสารแนวทางการประเมินคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  เอกสารแนวทางการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR)  เอกสารชุดการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา  เอกสารติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โดยหน่วยงานต้นสังกัด

21 การประกันคุณภาพในสถานศึกษา
 การเขียนรายงานประจำปี (SAR)   เขียนรายงานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประกาศใหม่ (4 มาตรฐาน)  เขียนรายงานในรูปแบบใหม่ (สั้น กระชับ) ตามแนวทางที่ สพฐ. กำหนด (จะมีเอกสารส่งให้ทุกสถานศึกษาช่วงต้นเดือนมกราคม 2560)  การชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานใหม่   โอนงบประมาณให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับมาตรฐาน และการประเมินภายนอกแนวใหม่ ให้แก่สถานศึกษาที่เข้ารับการประเมินภายนอก รอบ 4 รุ่นแรก

22 การประเมินภายนอก  แนวทางการประเมินภายนอก (ปีการศึกษา )  คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ ของคณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพพ.) ได้ประชุมเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนางานประกัน คุณภาพภายนอกของ สมศ. ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีข้อสรุปสำคัญดังต่อไปนี้ (เป็นข้อสรุปเบื้องต้นที่ยังไม่ผ่านการรับรองอย่างเป็นทางการ) CR: FB Jiraprawat Sriwattanasub

23 การประเมินภายนอก ทิศทางการประเมิน ไม่ประเมินทุกแห่ง
ประเมินตามความพร้อม ประเมินตามบริบทของแต่ละสถานศึกษา ประเมินโดยไม่เน้นเอกสาร การประเมินมองจากภาพรวม การประเมินที่เน้นดูพัฒนาการ

24 การประเมินภายนอก มาตรฐานการประเมิน
1) มาตรฐานที่ว่าด้วย ผลการจัดการศึกษา 2) มาตรฐานที่ว่าด้วย การบริหารจัดการศึกษา 3) มาตรฐานที่ว่าด้วย การจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4) มาตรฐานที่ว่าด้วย การประกันคุณภาพภายใน

25 การประเมินภายนอก วิธีการประเมิน
 พิจารณาจากรายงานการประเมินที่ส่งมาโดยระบบ Online / CD หรือเอกสาร  ลงไปตรวจเยี่ยมสถานศึกษา + มีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า 1 วัน

26 การประเมินภายนอก การตรวจเยี่ยมสถานศึกษา
 เน้นการประชุมรับฟังการรายงาน ซักถามให้ข้อเสนอแนะ  เน้นการสัมภาษณ์นักเรียน ดูสถานที่ สิ่งแวดล้อม  ไม่เน้นการดูเอกสาร

27 การประเมินภายนอก ระยะเวลาการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา
พิจารณาผลการประเมินในอดีต รอบ 2 และรอบ 3 ดีมาก 2 รอบ พิจารณาจาก SAR สุ่มบางแห่ง ไป 1 วัน ดีมาก 1 รอบ ตรวจเยี่ยม 1 วัน ดี 2 รอบ ตรวจเยี่ยม 2 วัน ดี 1 รอบ หรือ พอใช้ ตรวจเยี่ยม 3 วัน ไม่รับรอง ตรวจเยี่ยม 3 วัน

28 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google