การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชิ้นงานที่ 1 ณัฐนันท์ สัญวงษ์ ความหมายและคุณค่าของ การทำโครงงาน คอมพิวเตอร์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
รศ.ดร.จิตตินันท์ เดชะคุปต์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์
ฉวีวรรณ สุขสุนัย หน.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การศึกษาและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ASEAN CURRICULUM SOURCEBOOK
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
กระบวนการของการอธิบาย
การฝึกปฏิบัติการตรวจประเมิน รายงานการประเมินตนเองของสหกรณ์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
หลักการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อเตรียมความพร้อมการประเมิน PISA 2018 กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 สำนักทดสอบทางการศึกษา โดยศูนย์ PISA สพฐ.

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องการอ่าน Reading Literacy สาระสำคัญของการประเมินการรู้เรื่องการอ่าน ใช้การอ่านให้เป็นประโยชน์ในการเรียนรู้มี ส่วนร่วมในกิจกรรมและความเป็นไปของสังคม อย่างมีประสิทธิภาพ กุญแจสำคัญสำหรับทุกคนที่จะสามารถมีส่วน ร่วมในสังคม เศรษฐกิจและการดำเนินชีวิต อย่างมีคุณภาพ เทคโนโลยีเปลี่ยนวิธีการอ่านและการ แลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศทั้งที่บ้านและที่ ทำงาน

การประเมินเนื้อหาสาระ รูปแบบและวิธีการ เขียน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องการอ่าน Reading Literacy กลยุทธ์การอ่าน การตีความเนื้อเรื่อง การ สร้างความเข้าใจเนื้อเรื่องการค้นหา สาระสำคัญ การสะท้อนและ การประเมินเนื้อหาสาระ รูปแบบและวิธีการ เขียน ความสามารถด้านการอ่าน การเข้าถึงและ ค้นคืนสาระ การบูรณาการและตีความ การ สะท้อนและประเมิน

กรอบโครงสร้างการประเมิน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องการอ่าน Reading Literacy กรอบโครงสร้างการประเมิน เนื้อเรื่อง รูปแบบเนื้อเรื่อง สื่อ สำนวนเนื้อ เรื่อง สถานการณ์ บริบทส่วนตัว บริบท สาธารณะ บริบทของการงานอาชีพ การอ่านเพื่อการศึกษา

-เลือกคำตอบจาก สี่หรือห้าตัวเลือก เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องการอ่าน Reading Literacy รูปแบบข้อสอบ 1.เลือกตอบ -เลือกคำตอบจาก สี่หรือห้าตัวเลือก -เลือกคำตอบที่เป็นองค์ประกอบที่อยู่ในภาพ หรือข้อความ 2.เลือกตอบเชิงซ้อน -เลือกใช่หรือไม่ใช่ ในชุดคำถาม ได้ คะแนนเมื่อตอบถูกทั้งหมด

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องการอ่าน Reading Literacy 2.เลือกตอบเชิงซ้อน -เลือกมากกว่าหนึ่งคำตอบจากรายการที่ กำหนดให้ เติมคำในประโยคให้สมบูรณ์ โดยเลือกจาก รายการ ที่กำหนดให้ -การลากคำตอบมาวางในตำแหน่งที่ กำหนดให้ เพื่อจับคู่ เรียงลำดับ หรือจำแนกประเภท

-แบบสั้นๆ เป็นกลุ่มคำ หรือเขียนตอบ แบบยาวเป็น เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องการอ่าน Reading Literacy 3.เขียนตอบ -แบบสั้นๆ เป็นกลุ่มคำ หรือเขียนตอบ แบบยาวเป็น ย่อหน้า สั้น ๆ อาจอธิบายด้วย ประโยค 2 – 4 ประโยค -บางคำถามอาจให้วาดภาพ เช่นกราฟ แผนภาพ (เป็นการสอบโดยใช้คอมพิวเตอร์)

นิยามการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ Mathematical Literacy นิยามการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ความสามารถของบุคคลในการ คิด ใช้ และตีความ คณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่หลากหลาย รวมถึงการ ให้เหตุผลอย่างเป็นคณิตศาสตร์ ใช้ แนวคิด และกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์อธิบายและทำนาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ

สาระสำคัญของการประเมินการรู้เรื่อง คณิตศาสตร์ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ Mathematical Literacy สาระสำคัญของการประเมินการรู้เรื่อง คณิตศาสตร์ ให้ความสำคัญกับปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง มองเห็นคณิตศาสตร์ในปัญหา/สถานการณ์ ต่าง ๆ และมีความรู้เรื่องคณิตศาสตร์นั้น ใช้ขยายความรู้คณิตศาสตร์ที่เรียนมาเพื่อ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง

กรอบโครงสร้างการประเมินการรู้เรื่อง คณิตศาสตร์ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ Mathematical Literacy กรอบโครงสร้างการประเมินการรู้เรื่อง คณิตศาสตร์ บริบทโลกชีวิตจริง ทางวิทยาศาสตร์ ทางสังคม การงานอาชีพ ส่วนตัว กระบวนการ/เนื้อหา ทางคณิตศาสตร์ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ คิด ใช้ ตีความ/ประเมิน เนื้อหาทางคณิตศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ ปริภูมิและรูปทรง ปริมาณ ความไม่แน่นอนและข้อมูล

เขียนตอบ/ใช้คนตรวจ ใช้คอมตรวจ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ Mathematical Literacy รูปแบบการตอบข้อสอบ เลือกตอบธรรมดา เลือกตอบเชิงซ้อน เขียนตอบ/ใช้คนตรวจ ใช้คอมตรวจ

ลักษณะเฉพาะของข้อสอบ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ Mathematical Literacy ลักษณะเฉพาะของข้อสอบ เนื้อหาทางคณิตศาสตร์ : การ เปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ บริบท : การงานอาชีพ กระบวนการ : ใช้หลักทางคณิตศาสตร์

รูปแบบของข้อสอบ : เขียนตอบ – ใช้ คอมพิวเตอร์ตรวจ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ Mathematical Literacy รูปแบบของข้อสอบ : เขียนตอบ – ใช้ คอมพิวเตอร์ตรวจ เจตนาของคำถาม : การแก้สมการและ แทนค่าสิ่งที่กำหนดให้สองค่า

นิยามการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy นิยามการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถเชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ เข้าประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ได้อย่าง ไตร่ตรอง

สาระสำคัญของการประเมิน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy สาระสำคัญของการประเมิน สามารถดำเนินชีวิตในโลกปัจจุบันที่มี วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน รับรู้และตัดสินประเด็นปัญหาของสังคมที่ เกิดจากผลกระทบของวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอย่างมีความรู้ความเข้าใจ สามารถแก้ปัญหาในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กรอบโครงสร้างการประเมิน เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy กรอบโครงสร้างการประเมิน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สถานการณ์และบริบท สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์

สถานการณ์และบริบท สุขภาพและโรคภัย ทรัพยากรรธรรมชาติ อันตราย เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy สถานการณ์และบริบท สุขภาพและโรคภัย ทรัพยากรรธรรมชาติ อันตราย ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

บริบท ระดับบุคคล ท้องถิ่น ประเทศ โลก เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy บริบท ระดับบุคคล ท้องถิ่น ประเทศ โลก

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการ ตัวแปร การวัด วิธีประเมิน ความน่าเชื่อถือ การสรุปและการนำเสนอข้อมูล การออกแบบ เนื้อหา ระบบทางกายภาพ สิ่งมีชีวิต โลกและอวกาศ เทคโนโลยี การได้มาความรู้ การสร้างและระบุลักษณะของกวิทยาศาสตร์ ลักษณะที่ใช้ตัดสินความรู้ที่สร้างจากวิทยาศาสตร์

สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ การอธิบายปรากฏการณ์เชิงวิทยาศาสตร์ การประเมินและออกแบบกระบวนการ สืบเสาะความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การแปลความหมายข้อมูลและการใช้ ประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์

เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความสนใจในวิทยาศาสตร์ การให้ความสำคัญกับวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ความตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม

- คำตอบจากสี่หรือห้าตัวเลือก เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy รูปแบบการตอบข้อสอบ 1. เลือกตอบ - คำตอบจากสี่หรือห้าตัวเลือก -เลือกคำตอบที่เป็นองค์ประกอบที่อยู่ในภาพ หรือข้อความ 2. เลือกตอบเชิงซ้อน -เลือกใช่ หรือไม่ใช่ ในชุดคำถาม จะได้ คะแนนเมื่อตอบถูก ทั้งหมด -เลือกมากกว่าหนึ่งคำตอบจากรายการที่ กำหนดให้

-ลากคำตอบมาวางในตำแหน่งที่กำหนด เพื่อจับคู่ เรียงลำดับ หรือจำแนกประเภท เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประเมิน PISA 2018 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ Scientific Literacy -เติมคำในประโยคให้สมบูรณ์โดยเลือก คำตอบที่กำหนดให้ -ลากคำตอบมาวางในตำแหน่งที่กำหนด เพื่อจับคู่ เรียงลำดับ หรือจำแนกประเภท 3. เขียนตอบ -เขียนตอบแบบสั้นหรือกลุ่มคำ เขียนตอบ แบบยาวหรือย่อหน้าสั้น ๆ อาจอธิบายด้วย ประโยค 2-4 ประโยค -บางข้ออาจให้วาดภาพ เช่น กราฟ แผนภาพ สำหรับการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยตอบ

จบการบรรยาย