การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สป./กรม สปสช. สสข.*(New) กสธ.ส่วนกลาง เครือข่ายบริการ คปสข. National Health Service Delivery Board สป./กรม สปสช. National Health Authority : Strategic.
Advertisements

ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
กิจกรรมที่ 3 คำถาม สเตฟาน เป็น ครูสอนคอมพิวเตอร์ ทำงานใน โรงเรียนบัวแก้ววิทยาลัย สเตฟาน ได้รับคำสั่ง จากผู้บริหาร ให้นำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยใน การทำงานด้านต่างๆ.
PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
Lab 05 : การสร้างเว็บไซต์ด้วย Weebly สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML
แนวทางการตลาดและขายลูกค้า SMEs
HTML5 (Hypertext Markup Language 5)
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
งานระบบเครือข่ายและบริการอินเทอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
การออกแบบและพัฒนาเว็บ (WEB DESIGN AND DEVELOPMENT)
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
ขั้นตอนการร้องเรียน.
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
Agenda ::: ระบบงานทะเบียนสวนป่า RFD Single Window ปี 2561
สำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
พชรวรรณ ธัญญาดี ส่วนจัดการงบประมาณ สำนักแผนงานและสารสนเทศ
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
Network Security : Introduction
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
สำนักงาน กศน.จังหวัดยะลา
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 6.1 : การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเว็บไซต์
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
“Online Article Service & Tracking System”
สร้างเครือข่ายในชุมชน
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
การพัฒนาเว็บไซต์ ในงานธุรกิจ
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 1/2558 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 14 ธันวาคม 2558

วาระการประชุม วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย 2.2 การจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 กรมอนามัย 2.3 ระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.4 การพัฒนาเว็บไซต์ของกรมอนามัย 2.5 การตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย ประจำปี 2559 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานส่วนภูมิภาค วาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ 4.1 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 4.2 แผนปฏิบัติการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ในระบบกำกับติดตามโครงการกระทรวงสาธารณสุข

เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

วาระที่ 2 : เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย การประชุมเพื่อพัฒนาพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย เรื่องที่ การประชุมที่เกี่ยวข้อง วัน/เดือน/ปี ที่จัด 1 การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ วันอังคารที่ 27 ต.ค. 58 เวลา 10.00-12.30 น. 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย วันจันทร์ที่ 2 พ.ย. 58 เวลา 09.00-14.00 น. 3 การประชุมเตรียมการจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย วันที่ 4-5 พ.ย. 58 เวลา 09.30-16.30 น. 4 การประชุมนำเสนอผลจากการเตรียมการพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย วันจันทร์ที่ 16 พ.ย. 58 เวลา 09.00-16.30 น. 5 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัยแบบมีส่วนร่วม 5.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนองค์กรและพัฒนากระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์กรมอนามัย วันที่ 9-10 พ.ย. 58 เวลา 9.30-16.30 น. 5.2 การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย วันที่ 22-24 พ.ย. 58 6 ประชุมคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 1/2558 ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 วันพฤหัสบดีที่ 3 ธ.ค. 58 เวลา 9.30-16.30 น.

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) ความคืบหน้าการพัฒนายุทธศาสตร์ กรมอนามัย คำสั่งกรมอนามัย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์และคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย (ร่าง) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายพึงประสงค์ กรมอนามัย กำหนดกรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เตรียมจัดประชุมคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2558 วันที่ 16 ธ.ค. 58

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) คำสั่งกรมอนามัย เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์และคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย คำสั่งกรมอนามัยที่ 1069/2558 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์และคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย คณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) (ร่าง) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายพึงประสงค์ กรมอนามัย (ร่าง) วิสัยทัศน์ กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศ ในการอภิบาล* (ปกป้อง คุ้มครอง ดูแล) ระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศเพื่อสุขภาพประชาชน ข้อเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย ระหว่างวันที่ 22-24 พ.ย. 2558 ณ โรงแรมวังคำ จ.เชียงราย และมติการประชุมคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 1/2558 ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 เมื่อวันที่ 3 ธ.ค. 58 ณ ห้องประชุมกองแผนงาน กรมอนามัย

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) (ร่าง) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายพึงประสงค์ กรมอนามัย (ร่าง) พันธกิจ “ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ใช้ความรู้และ การดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน” ข้อเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย ระหว่างวันที่ 22-24 พ.ย. 2558 ณ โรงแรมวังคำ จ.เชียงราย และมติการประชุมคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 1/2558 ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 เมื่อวันที่ 3 ธ.ค. 58 ณ ห้องประชุมกองแผนงาน กรมอนามัย 8

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) (ร่าง) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายพึงประสงค์ กรมอนามัย (ร่าง) เป้าประสงค์กรมอนามัย “ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เน้นการทำงานกับชุมชนด้วยเทคโนโลยีที่เรียบง่ายเพื่อนำไปสู่ความยั่งยืน” ข้อเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย ระหว่างวันที่ 22-24 พ.ย. 2558 ณ โรงแรมวังคำ จ.เชียงราย และมติการประชุมคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 1/2558 ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 เมื่อวันที่ 3 ธ.ค. 58 ณ ห้องประชุมกองแผนงาน กรมอนามัย 9

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) (ร่าง) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายพึงประสงค์ กรมอนามัย (ร่าง) พันธกิจ พันธกิจ กำหนด พัฒนา และขับเคลื่อน (Strategic Management) นโยบาย ยุทธศาสตร์ กฎหมาย มาตรฐาน มาตรการ แนวทาง การปฏิบัติด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในทุกระดับ (Global International Regional Local) บนฐานของข้อมูลและความรู้ 2. สร้างและบริหารจัดการความรู้ นวัตกรรม นำไปสู่การกำหนดนโยบาย ออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพของประเทศและระบบสุขภาพโลก รวมทั้งการกำกับติดตามและประเมินผล 3. ประสานความร่วมมือ และบูรณาการระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมกับภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ (Health Sector) และนอกภาคส่วนสุขภาพ (Non Health Factors) 10

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) (ร่าง) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายพึงประสงค์ กรมอนามัย (ร่าง) พันธกิจ และเป้าประสงค์ (ต่อ) พันธกิจ 4. กำกับติดตาม และบังคับใช้กฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการ มาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติ 5. สร้างกระแสสังคม และรณรงค์เผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยี ระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม 6. ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลภาคีทุกภาคส่วนในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เกิดสำนึกรับผิดชอบ มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) กำหนดกรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์

2.1 การพัฒนายุทธศาสตร์กรมอนามัย (ต่อ) เตรียมจัดประชุมคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2558 วันที่ 16 ธ.ค. 58 วัตถุประสงค์ วิเคราะห์ภารกิจของกรมอนามัยตามกฎกระทรวง และกำหนด Outcome, Output, How to, กลไกการขับเคลื่อน และประเด็นยุทธศาสตร์ เตรียมข้อมูลนำเสนอในการประชุมคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย วันที่ 22 ธ.ค. 58

วาระที่ 2 : เรื่องแจ้งเพื่อทราบ (ต่อ) 2.2 การจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์การงบประมาณ 14 ธันวาคม 2558

ประเด็นการนำเสนอ 1. หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณฯ ปี 2560 กรมอนามัย 1. หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณฯ ปี 2560 กรมอนามัย 2. Time line ปฏิทินงบประมาณฯ พ.ศ. 2560 ที่สำคัญ 3. ประเด็นที่ขอความร่วมมือ

หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ 1.หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณฯ มิติงบรายจ่าย งบรายจ่าย หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ 1. งบบุคลากร - จัดทำตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่สำนักงบประมาณกำหนด 2. งบดำเนินงาน 1) จัดทำรายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็นตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่สำนักงบประมาณกำหนด 2) จัดทำงบดำเนินงานส่วนที่เหลือจากข้อ 1) * ที่สอดคล้องกับพันธกิจของหน่วยงาน * สนองต่อนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงฯ และประเด็นเข็มมุ่งกรม * เป็นโครงการที่ผ่านการกลั่นกรองจากคณะทำงานจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การพัฒนางานกรมอนามัย

หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ งบรายจ่าย หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ 3. งบลงทุน - จัดทำคำของบประมาณ รายการครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ตามเกณฑ์ที่กำหนด ดังนี้ * ราคาต่อหน่วยสูงกว่า 100,000 บาท * ตอบสนองต่อการดำเนินงานตามโครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ * สอดคล้องกับการพัฒนาศูนย์อนามัย 4 ด้านและการปรับบทบาทภารกิจกรม * ผ่านการกลั่นกรองจากคณะทำงานจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 งบลงทุน

หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ งบรายจ่าย หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ 4. งบเงินอุดหนุน 4.1 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์จัดทำคำของบประมาณ เงินอุดหนุนค่าสมาชิกรายปีที่รัฐบาลไทยจ่ายให้แก่องค์กร PPd ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2539 4.2 การพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย (ทุนศึกษาต่อระดับปริญญาโทและเอก) จัดทำคำของบประมาณให้กับผู้ที่ได้รับทุนการศึกษาที่ต่อเนื่องและทุนใหม่ โดยคณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษาของกรมฯ โดยมีเกณฑ์ * หลักสูตรต่างประเทศ หรือหลักสูตรนานาชาติในประเทศ * ต้องเป็นสาขาที่เกี่ยวกับพันธกิจของกรมอนามัย (การดูแลผู้สูงอายุ/อนามัยแม่และเด็ก/จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม) * หลักสูตรพัฒนาด้านวิชาการและบริหารจัดการของกรมอนามัย

หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ งบรายจ่าย หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ 5. งบรายจ่ายอื่น 5.1 ค่าใช้จ่ายในการศึกษาวิจัย จัดทำคำของบประมาณตามเกณฑ์ ดังนี้ * เป็นโครงการที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการวิจัยของกรมอนามัย (กพว.) ก่อนที่เสนอสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) * สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ * เป็นประเด็นเร่งด่วน และยังไม่มีองค์ความรู้ในเรื่องดังกล่าว * เป็นไปได้ที่จะเอาไปใช้ต่อในระดับนโยบายและปฏิบัติ * สนับสนุนการบรรลุยุทธศาสตร์ และมีระเบียบวิธีวิจัยถูกต้อง เหมาะสม * ตรงกับความเป็นเลิศ/บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน * ขนาด/ความรุนแรงของปัญหา/ผลกระทบ * เป็นโครงการต่อเนื่องจากปีก่อน

หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ งบรายจ่าย หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณ 5. งบรายจ่ายอื่น 5.2 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ จัดทำคำของบประมาณ ตามข้อกำหนด ดังนี้ * กรณีที่มีข้อตกลงหรือพันธกรณีกับองค์การหรือหน่วยงานในต่างประเทศ * กรณีความจำเป็นของหน่วยงานที่สนองต่อนโยบายทุกระดับ

สำนักงบพิจารณา 1 เดือน 2. Time line ปฏิทินงบประมาณฯ พ.ศ. 2560 ที่สำคัญ 30 พ.ย.57 หน่วยงานส่ง(งบดำเนินงาน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น) 10-14 ธ.ค.58 บันทึกข้อมูลฯในระบบ e-Budgeting 20 พ.ย.57 กอง จ./กอง ค. ส่งขั้นต่ำปี 60 4 ธ.ค.58 ขอผลทบทวนเป้าหมายฯ ปี 60 8 ธ.ค.58 (ร่าง) แผนงบลงทุน60 17 พ.ย.57 แจ้งนโยบายฯ Sign off Pre ceiling ( 18 ธ.ค.58) ให้สงป. 20 พ.ย.57 หน่วยงานส่งแผนความต้องการงบลงทุนฯ ปี 60 4 ธ.ค.58 (ร่าง) ขั้นต่ำ 60 9 ธ.ค.58 (ร่าง) Preceiling 60 15 ธ.ค.58 Sign Off preceiling ในระบบฯ ส่งสนย. สำนักงบพิจารณา 1 เดือน 19-29 ม.ค.59 ปรับปรุงและจัดทำรายละเอียดคำขอฯ 60 18 ม.ค.59 สงป. แจ้งผลการพิจารณาเบื้องต้น 8-12 ก.พ.59 บันทึกข้อมูลฯในระบบ e-Budgeting Sign off คำขอฯ ในระบบ (19 ก.พ.59) ให้สงป. 5 ก.พ.59 (ร่าง) คำขอ ปี 60 15 ก.พ.59 Sign Off คำขอในระบบฯ ส่งสนย.

3. ประเด็นที่ขอความร่วมมือ คณะทำงานการจัดทำงบประมาณรายจ่ายฯ ปี 2560 (2 คณะ) คณะพัฒนางานและคณะงบลงทุน

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคงได้รับความร่วมมือเหมือนทุกปีที่ผ่านมาขอบคุณค่ะ คณะทำงานการจัดทำงบประมาณรายจ่ายฯ ปี 2560 (2 คณะ) คณะพัฒนางานและคณะงบลงทุน คณะทำงานพัฒนางาน เพื่อพิจารณา กลั่นกรองโครงการฯ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณฯ เชิญ ประชุม ม.ค.59 คณะงบลงทุน เพื่อพิจารณาความพร้อม และเรียงลำดับความสำคัญ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์การจัดทำคำของบประมาณฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคงได้รับความร่วมมือเหมือนทุกปีที่ผ่านมาขอบคุณค่ะ

2.3 ระบบเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม วาระที่ 2 : เรื่องแจ้งเพื่อทราบ (ต่อ) 2.3 ระบบเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม

การแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บุคคลภายนอก นายแพทย์คำนวณ อึ้งชูศักดิ์ แพทย์หญิงนัททา อ่วมกุล นายพิษณุ แสนประเสริฐ กรมอนามัย อธิบดีกรมอนามัย รองอธิบดีกรมอนามัยทุกท่าน ผู้ทรงคุณวุฒิกรมอนามัยทุกท่าน รองอธิบดีกรมอนามัยที่กำกับดูแลกองแผนงานเป็นประธานคณะกรรมการ

การแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ คณะกรรมการประกอบด้วยผู้บริหารนักวิชาการจากหน่วยงานส่วนกลางและศูนย์อนามัยเบื้องต้น นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล (ผอ.ศูนย์อนามัยที่ 4) นพ.เกษม เวชสุทธานนท์ (ผอ.ศูนย์อนามัยที่ 7) นพ.กิตติพงษ์ แซ่เจ็ง (ผอ.สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์) ดร.พญ.สายพิณ โชติวิเชียร (นายแพทย์เชี่ยวชาญ สำนัก ภ.) นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์ (นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนัก อพ.) ทพญ.ปิยะดา ประเสริฐสม (ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ สำนัก ท.) สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ สำนักสร้างและจัดการความรู้

กรอบแนวทางการดำเนินงาน * ให้มีโครงสร้างคณะกรรมการเพื่อดำเนินงานระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม * ให้หน่วยงานส่วนกลางกรมอนามัยจัดทำรายละเอียดข้อมูลตามประเด็นที่สนใจเฝ้าระวัง และให้กองแผนงานดำเนินการประสานและจัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง * รายงานผลการดำเนินงานในการประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญกรมอนามัยวันอังคารสัปดาห์ที่ 3 ของทุกเดือน * รายงานผลการดำเนินงานทุก 3 เดือนในการประชุมผู้บริหาร กรมอนามัย

หัวข้อการเฝ้าระวังฯ การตายมารดา พัฒนาการสมวัย ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลาเรียนรู้ การดูแลผู้สูงอายุเน้นตำบล Long Term Care พฤติกรรมที่พึ่งประสงค์ของผู้สูงอายุ การบริหารจัดการขยะเน้นขยะติดเชื้อ กิจกรรมทางกายที่เพียงพอ พฤติกรรมเนือยนิ่ง สิ่งแวดล้อมที่เอื้อยต่อกิจกรรมทางกาย DPAC ภาวะโภชนาการ (ผอม,อ้วน,เตี้ย,ซีด) พฤติกรรมบริโภค (ลดหวาน มัน เค็ม) Micronutrients Def. ไอโอดีน เหล็ก องค์กรไร้พุง ตั้งครรภ์วัยรุ่น

หัวข้อการเฝ้าระวังฯ (ต่อ) การแท้ง การเกิดคุณภาพ Low birth weigh การถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก สุขภาพช่องปาก ฟลูออไรด์ พฤติกรรมช่องปาก ผลิตภัณฑ์ทันตสุขภาพ มูลฝอยติดเชื้อ น้ำเสียในโรงพยาบาล มูลฝอยทั่วไป สุขาภิบาลอาหาร น้ำบริโภค มาตรการกฎหมายทางสาธารณสุข ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพพื้นที่เสี่ยง

วาระที่ 2 : เรื่องแจ้งเพื่อทราบ (ต่อ) 2.4 การพัฒนาเว็บไซต์ของกรมอนามัย เพื่อการส่งเสริมและผลักดันการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และยกระดับความสามารถการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

2.4 การพัฒนาเว็บไซต์กรมอนามัย วาระที่ 2 : เรื่องแจ้งเพื่อทราบ (ต่อ) 2.4 การพัฒนาเว็บไซต์กรมอนามัย โดย นางสาวชุลีวรรณ นพวิสุทธิสกุล หัวหน้ากลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ กองแผนงาน

ความเป็นมา การดำเนินงานด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ของประเทศไทย ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมและผลักดันการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และยกระดับความสามารถการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางเว็บไซต์ มี 3 เรื่องหลัก ดังนี้ 1. การพัฒนาเว็บไซต์ตามมาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐ (Government Website Standard) เป็นมาตรฐานให้หน่วยงานภาครัฐได้นำไปปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการผ่านเว็บไซต์ของภาครัฐ ยกระดับ e-Government ให้ก้าวหน้าสู่ระดับมาตรฐานสากล กล่าวถึงองค์ประกอบของเนื้อหาเว็บไซต์ (Content) การให้บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) รวมถึงคุณลักษณะที่ควรมี (Recommended Features) และจำแนกตามระดับการพัฒนาการให้บริการผ่านเว็บไซต์ภาครัฐ (Phases of development) รวมถึงแนวทางการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security) ของสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) 2. การพัฒนาเว็บไซต์ให้รองรับการแสดงผลบนอุปกรณ์พกพา ได้แก่ Smart Phone และ Tablet ตามร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. การพัฒนาเว็บไซต์ให้รองรับ IPV6 (Internet Protocol version 6) ตามแผนปฏิบัติการเพื่อผลักดัน ส่งเสริม เร่งรัด และติดตามผลการดำเนินงาน IPv6 ในประเทศไทย ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

รายงานการพัฒนาเว็บไซต์กรมอนามัย ด้านการบริหารจัดการ ด้านวิชาการ 1. มีการพัฒนาเว็บไซต์กรมอนามัยเป็นไปตาม มาตรฐาน และพัฒนาเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ตามองค์กร W3C หรือ World Wide Web Consortium ได้เกณฑ์มาตรฐาน WCAG (Web Content Accessibility Guideline) ระดับ AA 2. การจัดอบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ ในการพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ผ่านระบบ Web Conference 3. มีการพัฒนาเว็บไซต์กรมอนามัย ให้รองรับการแสดงผลบนอุปกรณ์พกพา ได้แก่ Smart Phone และ Tablet 4. มีการพัฒนาเว็บไซต์กรมอนามัยให้รองรับ IPV6 (Internet Protocol version 6) 1. ควรมีข้อมูลนำเข้าตามหมวดความรู้ของบริการประชาชน ให้ข้อมูลมีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ 2. ขาดเจ้าหน้าที่รับผิดชอบสำหรับตอบคำถามในกระดานถาม-ตอบ (Webboard) และคำถามที่ถามบ่อย (FAQ : Frequently Asked Questions)   ข้อเสนอแนะ ข้อ 1 และ 2 ให้นำเข้าคณะกรรมการศูนย์ประสานงานสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยง

รายงานการดำเนินงานของกรมอนามัย ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 1. จัดประชุมพิจารณาปรับปรุงเว็บไซต์ กรมอนามัย 2. จัดประชุมปรับปรุงเว็บไซต์กรมอนามัย (ด้านข้อมูลของกรมอนามัย) 3. จัดประชุมโครงการพัฒนาเว็บไซต์ให้เป็นไปตาม “มาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐ” เพื่อนำไปพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ 1. จัดประชุมข้อมูลวิชาการ เพื่อเผยแพร่บนเว็บไซต์ และกระดานถาม-ตอบ (Webboard) ในเว็บไซต์กรมอนามัย 2. จัดอบรมให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ตามองค์การ W3C หรือ World Wide Web Consortium 1. จัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย เพื่อการส่งเสริมและผลักดันการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และยกระดับความสามารถการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 2. การพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย ให้รองรับการแสดงผลบนอุปกรณ์พกพา ได้แก่ Smart Phone และ Tablet พกพา

แนวทางการดำเนินงาน ปี 2559 1. จัดทำตัวชี้วัดการพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย เพื่อการส่งเสริมและผลักดันการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และยกระดับความสามารถ การให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ แนวทางการประเมินการพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย 1.1 การปรับเปลี่ยน Logo กรมอนามัย ที่เว็บไซต์ของหน่วยงาน 1.2 การพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ตาม Template ของเว็บไซต์กรมอนามัย ดังนี้ 1.2.1 ส่วนบนของเว็บไซต์ ได้แก่ Logo กรมอนามัย ระบบสืบค้นข้อมูล และมีเมนูหลัก คือ หน้าหลัก รู้จักกรม บริการประชาชน สำหรับเจ้าหน้าที่ หน่วยงานในสังกัด ติดต่อกรม 1.2.2 ส่วนกลางของเว็บไซต์ ได้แก่ แบบสำรวจออนไลน์ การจัดซื้อจัดจ้าง ระเบียงคุณธรรม และดาวน์โหลดเอกสาร เป็นต้น 1.2.3 ส่วนล่างของเว็บไซต์ ได้แก่ แบนเนอร์ Link ของหน่วยงานภายนอก ผังเว็บไซต์ ช่องทางการติดต่อกับ ผู้ใช้บริการ เช่น ที่อยู่ ,E-Mail ,Facebook ,Twitter และแผนที่หน่วยงาน เป็นต้น 1.2.4 หน่วยงานสามารถพัฒนาเว็บไซต์เนื้อหาเพิ่มเติมอื่นๆ ได้ตามมาตรฐานเว็บไซต์ เช่น การให้บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ได้แก่ การให้บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) เป็นต้น และคุณลักษณะที่ควรมี (Recommended Features) ได้แก่ การแสดงผลได้ 2 ภาษา คือ ภาษาไทย & ภาษาอังกฤษ และการพัฒนาเว็บไซต์ให้ทุกคนเข้าถึงได้ ตามแนวทางของ W3C หรือ World Wide Web Consortium เป็นต้น

แนวทางการดำเนินงาน ปี 2559 (ต่อ) 1.3 การปรับปรุงพัฒนาเนื้อหาข้อมูลในเว็บไซต์ ให้ความทันสมัย (update) อยู่เสมอ เป็นสิ่งสำคัญที่สุดในเว็บไซต์ ต้องเตรียมเนื้อหาข้อมูลให้ถูกต้องและและสมบูรณ์ ได้แก่ ข้อมูลบริการประชาชน เป็นต้น 1.4 การพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน ให้รองรับอุปกรณ์พกพา 1.5 ระบบสำรองข้อมูล (Backup) เว็บไซต์ของหน่วยงาน 1.6 การจัดทำแผนการสำรองข้อมูลและแผนการกู้คืนข้อมูล กรณีระบบล่ม สามารถแก้ไขให้ ใช้งานได้ทันใน 24 ชั่วโมง *** กำหนดการประชุมรายละเอียดแนวทางดังกล่าว ในวันที่ 16 ธ.ค. 58 ที่จังหวัดนครนายก ***

แนวทางการดำเนินงาน ปี 2559 (ต่อ) 2. การพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย ให้รองรับการแสดงผลบนอุปกรณ์พกพา ได้แก่ Smart Phone และ Tablet มีกระบวนการดำเนินงาน ดังนี้ 2.1 ทีม IT กองแผนงานทำการติดตั้งเครื่องมือ สำหรับการพัฒนาเว็บไซต์ที่แสดงผลบนอุปกรณ์พกพา (ระบบ EasyWebTime) ที่เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของหน่วยงาน 2.2 จัดอบรมให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงานให้รองรับการแสดงผลบนอุปกรณ์พกพาได้ ประมาณเดือน มี.ค. 59 *** หน่วยงานที่พัฒนาเว็บไซต์ให้รองรับอุปกรณ์พกพา สามารถส่งเข้าโครงการประกวด ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประมาณเดือน พ.ค. 59 ***

ประโยชน์การจัดทำรูปแบบเว็บไซต์เป็นแนวทางเดียวกัน ใช้งานง่าย การกำหนดรูปแบบเว็บไซต์ให้เป็นแนวทางเดียวกัน ทำให้ใช้งานง่าย สะดวกรวดเร็วในการเรียกดูเนื้อหา เรียกใช้ข้อมูล โดยไม่ต้องมาเสียเวลาอยู่กับการทำความเข้าใจ ลดเวลา การพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงาน ให้ใช้รูปแบบเว็บไซต์กรมอนามัยไปดำเนินการได้ ไม่ต้องเวลาออกแบบเนื้อหา เชื่อมโยง สามารถพัฒนาการเชื่อมโยงและจัดกลุ่มข้อมูลของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัยให้เสนอข้อมูลที่เว็บไซต์กรมอนามัยได้ เพิ่มช่องทาง ข้อมูลของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัยสามารถเผยแพร่ได้หลายช่องทาง ได้แก่ เว็บหน่วยงาน เว็บกรมอนามัย และเว็บกระทรวงสาธารณสุข

รายงานผลการสำรวจเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ ปี พ.ศ. 2558 https://www.ega.or.th/th/content/890/4217/ ที่มา : สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.)

การให้บริการ e-Service การสำรวจเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐในภาพรวมของรายกระทรวง จากการสำรวจการให้บริการผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ โดยสำรวจจากเนื้อหา (Contents) การให้บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) และคุณลักษณะของเว็บไซต์ที่ควรมี (Recommended Features) ที่ระบุไว้ในเล่มมาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐ (Government Website Standard) ซึ่งสามารถสรุปผลเป็นรายหน่วยงานได้ดังนี้ ตารางผลการสำรวจเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ จำแนกตามเนื้อหา การให้บริการ และคุณลักษณะที่ควรมี หน่วยงาน ข้อมูลพื้นฐาน การสร้างปฏิสัมพันธ์ การให้บริการ e-Service คุณลักษณะที่ควรมี Web Accessibility คะแนนเฉลี่ย กระทรวงกลาโหม 55.75 41.88 0.00 58.75 31.28 กระทรวงการคลัง 82.08 90.40 28.40 76.60 4.00 56.30 กระทรวงการต่างประเทศ 49.33 44.44 6.67 48.33 29.76 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 75.83 77.50 15.00 70.00 16.67 51.00 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 74.78 64.44 10.56 70.56 52.96 ที่มา : สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.)

การให้บริการ e-Service การสำรวจเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐในภาพรวมของรายกระทรวง ตารางผลการสำรวจเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ จำแนกตามเนื้อหา การให้บริการ และคุณลักษณะที่ควรมี หน่วยงาน ข้อมูลพื้นฐาน การสร้างปฏิสัมพันธ์ การให้บริการ e-Service คุณลักษณะที่ควรมี Web Accessibility คะแนนเฉลี่ย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 79.65 79.12 29.10 84.41 41.18 62.69 กระทรวงคมนาคม 78.90 81.75 23.75 75.50 40.00 59.98 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 79.76 93.82 20.29 84.12 5.88 56.78 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 86.22 98.33 19.44 97.22 11.11 62.47 กระทรวงพลังงาน 80.78 86.67 10.00 90.00 0.00 53.49 กระทรวงพาณิชย์ 73.25 82.92 22.50 67.17 16.67 52.90 กระทรวงมหาดไทย 81.50 82.08 29.58 63.33 50.00 62.30 กระทรวงยุติธรรม 80.80 25.50 86.00 20.00 57.56 กระทรวงแรงงาน 85.60 87.00 56.00 80.00 77.72 กระทรวงวัฒนธรรม 76.25 86.88 6.25 85.00 37.50 58.38 ที่มา : สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.)

การให้บริการ e-Service การสำรวจเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐในภาพรวมของรายกระทรวง ตารางผลการสำรวจเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ จำแนกตามเนื้อหา การให้บริการ และคุณลักษณะที่ควรมี หน่วยงาน ข้อมูลพื้นฐาน การสร้างปฏิสัมพันธ์ การให้บริการ e-Service คุณลักษณะที่ควรมี Web Accessibility คะแนนเฉลี่ย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 69.43 60.36 3.57 72.86 0.00 41.24 กระทรวงศึกษาธิการ 69.36 80.45 17.27 59.09 27.27 50.69 กระทรวงสาธารณสุข 75.33 67.00 28.00 57.00 6.67 46.80 กระทรวงอุตสาหกรรม 80.60 63.00 35.00 50.00 20.00 49.72 หน่วยงานของรัฐสภา 65.67 48.33 8.33 53.33 35.13 หน่วยงานของศาล 30.00 40.00 33.33 33.80 หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ 78.13 79.38 10.00 86.25 12.50 53.25 ส่วนราชการไม่สังกัดนายกรัฐมนตรีกระทรวงหรือทบวง 71.00 51.67 12.22 54.44 37.87 สานักนายกรัฐมนตรี 88.16 80.00 19.74 75.00 5.26 53.63 ที่มา : สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.)

การสำรวจเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐในภาพรวมของรายกระทรวง จากตารางหากพิจารณาคะแนนเฉลี่ยภาพรวมของรายกระทรวงแล้ว ผลการสำรวจพบว่า กระทรวงแรงงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คิดเป็นร้อยละ 77.72, 62.69 และ 62.47 ตามลาดับ แสดงดังรูปที่ 3 ที่มา : สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.)

2.5 การตรวจราชการ กรมอนามัย ประจำปี ๒๕๕๙ วาระที่ 2 : เรื่องแจ้งเพื่อทราบ (ต่อ) 2.5 การตรวจราชการ กรมอนามัย ประจำปี ๒๕๕๙

สืบเนื่องจากมติที่ประชุมกรมอนามัย เห็นชอบในหลักการเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการตรวจราชการกรมและการนิเทศงานกรมอนามัย มอบผู้ทรงคุณวุฒิสร้างทีมทำงาน ทีมตรวจราชการของกรมอนามัย SMART

๑. การกำหนดบทบาทหน้าที่ ความก้าวหน้า ๑. การกำหนดบทบาทหน้าที่ ๑) กำหนดรายชื่อผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการระดับกรม เขต ๑-๑๒ ปี ๕๙ ดังนี้ - ผู้ทรงคุณวุฒิ (หัวหน้าทีม) - ผอ.สำนัก/กองวิชาการ - ผู้เชี่ยวชาญจากส่วนกลาง - ทันตแพทย์ - ผอ.ศูนย์อนามัย - ผู้เชี่ยวชาญสายส่งเสริม/สิ่งแวดล้อม/ ทันตแพทย์จากศูนย์อนามัย

ความก้าวหน้า (ต่อ) ๒) แต่งตั้ง คกก. ขับเคลื่อนระบบตรวจราชการและ นิเทศงานกรม ปี ๕๙ ดังนี้ อธิบดี/รองอธิบดีที่ได้รับมอบหมาย ที่ปรึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ (นพ.ชัยพร พรหมสิงห์) ประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิ และ ผอ.สำนัก/กอง/ศูนย์อนามัย นวก. จากสำนัก/กองวิชาการ กองแผนงาน เลขานุการ

ความก้าวหน้า (ต่อ) ๒. การสนับสนุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจราชการฯ พัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนการตรวจราชการฯ ๑) จัดทำ Website เป็นลักษณะ single window และสามารถตอบสนองการใช้งานกับ smart phone ทุกประเภท ๒) จัดตั้งกลุ่ม Line ๓) มีหน้าเพจ Facebook

ความก้าวหน้า (ต่อ) ครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒ จัดประชุมพัฒนาระบบตรวจราชการและนิเทศงาน ปี ๒๕๕๙ จำนวน ๒ ครั้ง เพื่อชี้แจงแนวทางการตรวจราชการฯ พร้อมมอบคู่มือการตรวจฯ ๒๗-๒๘ ธ.ค. ๕๘ ณ โรงแรมไพน์เฮิร์สท กอล์ฟ คลับ ปทุมธานี ครั้งที่ ๑ จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายหลังการตรวจราชการฯ รอบที่ ๑/๒๕๕๙ ครั้งที่ ๒ เดือน เม.ย. ๕๙

กรอบประเด็นการตรวจราช ปี 59 คณะที่ 1 กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 15 ต่อแสน การเกิดมีชีพ ประเด็นการตรวจ : ระบบเฝ้าระวังมารดาตาย เพื่อลดการ ตายมารดาจากสถานบริการสู่ชุมชน 1) ระบบบริการจัดการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก 2) การจัดการระบบข้อมูลมารดาตาย 3) การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงของมารดา 4) ระบบบริการที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ 2 : เด็ก 0-5 ปี แข็งแรง สมองดี พร้อมเรียนรู้ ประเด็นการตรวจ : การพัฒนาเด็กปฐมวัย 2) การจัดการระบบข้อมูลเด็กปฐมวัย 3) การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงของเด็กปฐมวัย

คณะที่ 1 กลุ่มเด็กวัยเรียน (5-14 ปี) กลุ่มวัยรุ่น ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (ไม่เกินร้อยละ 10) ประเด็นการตรวจ 1) การถ่ายทอดโปรแกรมนักจัดการ นน. เด็กวัยเรียน(SKC) สู่ รร. เป้าหมายและสถานบริการสาธารณสุข 2) การคัดกรองส่งต่อ การจัดการแก้ไขปัญหาและการรายงานผล กลุ่มวัยรุ่น ตัวชี้วัด : อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อ ปชก. หญิงอายุ 15-19 ปี พันคน) ประเด็นการตรวจ : การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการตั้งครรภ์ซ้ำ กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการตรวจ : ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงแบบ ระยะยาว (Long term care)

คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ - สาขาสุขภาพช่องปาก คณะที่ 4 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ประเด็นการตรวจ จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ. ในสังกัด สป.สธ. ให้ถูกต้องตามกฎหมาย จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยทั่วไปของ อปท. ให้ถูกหลักสุขาภิบาล

คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประเด็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล : การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาระบบการจัดการขยะให้ถูกสุขลักษณะ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการขยะติดเชื้อและของเสียทางการแพทย์ให้ถูกสุขลักษณะ โครงการส่งเสริมการจัดการน้ำเสีย โครงการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่วิกฤติด้านมลพิษทางอากาศ

รายชื่อผู้ประสานงานกรมอนามัย ประจำเขตสุขภาพที่ 1-12 ปี 2559 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณาการ ชื่อ – สกุล ตำแหน่ง 1 นายเอนก ศิริโหราชัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 2 นายสุธน เพ็งคุ้ม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ 3 ดร.รำไพ เกียรติอดิศร นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ 4 1. นางฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญพิเศษ 2. นายวิชาญ ดำรงค์กิจ 5 นายธนชีพ พีระธรณิศร์ หัวหน้ากลุ่มอนามัยสิ่งแวดล้อม 6 นายชาญศักดิ์ เทพมาลี 7 ดร.จริยา อินทรรัศมี 8 นางไฉไล ช่างดำ นวก.สาธารณสุขชำนาญการพิเศษ 9 นางสุวรรณ แช่มชูกลิ่น 10 นางสาวละออ จันสุตะ 11 นางสาโรช  สิมะไพศาล   12 นายมานะ หะสาเมาะ

วาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานส่วนภูมิภาค 55

วาระที่ 4 : เรื่องอื่นๆ 4.1 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 (เอกสารหมายเลข 1) 4.2 แผนปฏิบัติการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ในระบบกำกับติดตามโครงการกระทรวงสาธารณสุข (เอกสารหมายเลข 2) 56

ขอบคุณ