งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
พีระพงศ์ ชมภูมิ่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

2 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) 
เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  มีสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและร่วมมือในเรื่องสันติภาพ, ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ความรู้, สังคมวัฒนธรรม บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก

3

4 ประชาคมอาเซียน-> สาธารณสุข
ยาอาหารเครื่องมือ บริการสุขภาพ Health, Medical Hub, วิชาชีพ ฝึกอบรมสร้างผู้เชี่ยวชาญ มาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน E-ASEAN Single-Window คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองลิขสิทธิ์ AEC อยู่ดีกินดี ตลาดรวม ASCC สวัสดิการ สังคม APSC ปลอดภัย มั่นคง MDG คุณภาพชีวิต -สิทธิมนุษยชน -สวัสดิการสังคม -ความเท่าเทียม, -อนามัยเจริญพันธุ์ -ผู้สูงอายุ ผู้พิการ -แรงงานต่างด้าว – พัฒนาสุขภาพ –ส่งเสริมสุขภาพ -สิ่งแวดล้อม -ป้องกันโรค HIV IHR -ด่าน - อาหารปลอดภัย ความมั่นคงทางอาหาร สิทธิมนุษยชน อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ายาเสพติด การก่อการร้าย อาวุธชีวภาพ ความร่วมมือด้าน สาธารณภัย และเมื่อวิเคราะห์ในแต่ละ Blueprint แล้วจะมีเรื่องที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุขอยู่มากมาย คือ 1. เสา APSC มีเรื่องของ สิทธิมนุษยชน อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ายาเสพติด การก่อการร้าย อาวุธชีวภาพ ความร่วมมือด้าน สาธารณภัย 2. เสา AEC เป็นเรื่องที่รัฐบาลให้ความสำคัญมาก คือ ยาอาหารเครื่องมือ บริการสุขภาพ Health, Medical Hub วิชาชีพ (แพทย์ทันตแพทย์ พยาบาล) ฝึกอบรมสร้างผู้เชี่ยวชาญ มาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน E-ASEAN Single-Window คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองลิขสิทธิ์ 3 เสา ASCC เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุขมากที่สุดและเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนคนไทย คือ MDG คุณภาพชีวิต สิทธิมนุษยชน สวัสดิการสังคม ความเท่าเทียม, อนามัยเจริญพันธุ์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ แรงงานต่างด้าว พัฒนาสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค HIV IHR ด่าน อาหารปลอดภัย ความมั่นคงทางอาหา

5 ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ASEAN Political Security Community APSC เป้าหมาย 1. การมีกฎ กติกาเป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน 2. มีความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน 3. มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน 4. มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5. มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ด้วยดี 6. มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน 7. มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคาม ความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง

6

7

8 ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
1. สุขภาพคนไทยอาจแย่ลง การไหลทะลักของสินค้าทำลายสุขภาพ เช่น เหล้า สุรา ฯลฯ อาหารและยาที่ไม่ได้มาตรฐานเข้ามามาก การแพร่กระจายของโรคติดต่อ การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ 2. บริการสุขภาพถูกแย่งชิงทั้งจากกลุ่มคนฐานะดีและแรงงานข้ามชาติ 3. ความเหลื่อมล้ำระหว่างไทยกับเพื่อนบ้าน คนรวยคนจน ก่อปัญหา ยาเสพติด

9 ผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติ
ข้อมูลจากการสำมะโนประชากรและการเคหะปี ๒๕๕๓ - ประชากรที่ไม่ได้ถือสัญชาติไทย ประมาณ ๒.๗ ล้านคน (ร้อยละ ๔.๑ ของประชากรทั่วประเทศ) - มากกว่าครึ่งอาศัยอยู่ใน กทม และภาคกลาง - ร้อยละ ๙๐ เป็นแรงงานข้ามชาติจากประเทศเพื่อนบ้าน คาดว่ายังมีแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตามที่เข้าเมืองแบบผิดกฏหมาย > ๑ ล้านคน (รวมแรงงานต่างชาติไม่ต่ำกว่า ๓ ล้านคน)

10 ตัวอย่างผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติ (ต่อ)
การเพิ่มขึ้นของแรงงานข้ามชาติมีผลโดยตรงกับความสามารถในการรองรับของระบบบริการสุขภาพ - อัตราการครองเตียงของแรงงานต่างด้าวโรงพยาบาลในพื้นที่ที่มีแรงงานข้ามชาติจำนวนมาก (ชายแดน เขตอุตสาหกรรม - การสื่อสารมีปัญหา - ภาระค่ารักษาพยาบาล - โรคติดเชื้อและโรคเรื้อรัง เช่น วัณโรค เท้าช้าง มาลาเรีย - อนามัยแม่และเด็ก (ทารกน้ำหนักน้อยอยู่ใน รพ. นาน ที่มา: เวทีวิชาการ “ สุขภาพแรงงานข้ามชาติ: ทางออกที่เหมาะสมเพื่อสร้างความ เป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพ โรงแรมทีเคพาเลช ๑๕ ตค. ๕๕

11 การเตรียมความพร้อมเข้า สู่ประชาคมอาเซียน กระทรวงสาธารณสุข

12 ๑. การสนับสนุนการเป็นเมืองศูนย์กลาง บริการสุขภาพในอาเซียน
พัฒนาศักยภาพ รพศ.ขนาดใหญ่ที่ต้องเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการในภูมิภาค 5 แห่ง (รพ. เชียงรายฯ, รพ. สรรพสิทธิประสงค์, รพ. พหลฯ, รพ. หาดใหญ่, รพ. พระปกเกล้า) พัฒนาศักยภาพของ รพ. ขนาดกลางและขนาดเล็กตามแนวตะเข็บชายแดน 50 แห่ง พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศและศูนย์วิจัยพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่างๆ (เทคโนโลยีทันต กรรม เครือข่ายโรคผิวหนังรวมทั้งการปลูกถ่ายรากผม จักษุกรรม การป้องกันตาบอดจาก เบาหวาน สนับสนุนการพัฒนาบริการสุขภาพให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานให้แก่สถานบริการในจังหวัดที่เป็นเมืองสุขภาพ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สื่อต่างๆ รองรับการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพสถานบริการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในโรงพยาบาลภาครัฐ และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ

13 ๒. การใช้ภารกิจด้านสาธารณสุขเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของสินค้า บริการ และการลงทุน เพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน พัฒนาระบบการคัดกรอง ณ ด่านช่องทางเข้า-ออกให้ เป็น one-stop service ที่ให้บริการมาตรฐานระดับสากล พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุขที่เป็นภาพรวมของประเทศ และเชื่อมต่อเป็น National Single Window พัฒนาความพร้อมของห้องปฏิบัติการใน 4 ภูมิภาค (วัตถุดิบประกอบอาหาร และการสอบสวนโรค พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ (SSRT/FRRT) และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ

14 ๓. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในประชาคมอาเซียน
การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ระบบสารสนเทศ ห้องปฏิบัติการ พัฒนากำลังคน) การจัดระบบการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในจังหวัดชายแดน (พัฒนาความร่วมมือในการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคระหว่าง จังหวัดคู่ขนานในพื้นที่ชายแดนไทยก้บประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาศูนย์เฝ้าระวังเชื้อโรคติดต่ออุบัติใหม่) พัฒนา/ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนควบคุมโรคชายแดน การพัฒนาขีดความสามารถของด่านควบคุมโรคในพื้นที่ชายแดน และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ

15 ๔. พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub)
ส่งเสริมพัฒนาให้สถานบริการสุขภาพมีความพร้อมและศักยภาพในการเข้าสู่การรองรับคุณภาพบริการสุขภาพในระดับนานาชาติ พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพแบบครบวงจร (Thailand Health Complex) พัฒนา IT ณ ศูนย์บริการข้อมูลสุขภาพ (One Stop Service Center) ทั้งระบบ on line และระบบ Offline พัฒนาศูนย์ล่ามตามนโยบาย Medical Hub ประชาสัมพันธ์และการทำ Business Matching รองรับนโยบาย Medical Hub พัฒนาระบบการยกเว้นการตรวจลงตราสำหรับเดินทางเข้ามารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทยสำหรับกลุ่มสมาชิก GCC และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ

16 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดแพร่ ปี 2559
จัดตั้งศูนย์ประสานงานเครือข่ายประชาคมอาเซียนด้านการสาธารณสุข ตัวย่อ "ศคอส."CENTER OF ASEAN HEALTH NETWORK COLLABORATION : AHNC ในระดับจังหวัด พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านภาษาสื่อสารในการรักษาพยาบาลแก่ผู้รับบริการชาวต่างชาติ จัดทำเว็ปไซป์ศูนย์ประสานงานเครือข่ายประชาคมอาเซียนด้านการสาธารณสุข ตัวย่อ "ศคอส.“ พัฒนาระบบข้อมูลบริการสุขภาพประชากรต่างชาติ (ข้อมูล 43 แฟ้ม) จัดทำระบบช่องทางการบริการที่ชัดเจน ระบบ 2 ภาษา

17 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดแพร่ ปี 2560
การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ภัยสุขภาพด้านโรคติดต่อ อาหาร(SRRT/FRRT) การมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ควบคุมโรค และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดับ เพื่อตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในทุกกลุ่มเป้าหมายและพัฒนาระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีสุขภาพในการสร้างสุขภาพ

18 มุ่งเน้นระบบข้อมูล ที่ทันสมัยและน่าเชื่อถือ

19


ดาวน์โหลด ppt นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google