Health Promotion Concept-Theory-Strategy Model แนวคิด ทฤษฎี กลยุทธิ์ และรูปแบบ การสร้างเสริมสุขภาพ Kanit Ngowsiri, Ph.D. Oct 18, 2018
วัตถุประสงค์ 1. บอกความหมายของการสร้างเสริมสุขภาพได้ 2. อธิบายแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการสร้างเสริม สุขภาพได้ 4. บอกกลยุทธิ์ และรูปแบบของการสร้างเสริม สุขภาพได้
Health (WHO) “Health is a state of complete physical, mental and social well-being, and not merely the absence of disease" ภาวะที่แสดงให้เห็นถึงความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ที่ดี และรู้สึกเป็นสุข ที่ไม่ใช่หมายถึงเพียงแต่ปราศจากโรคเท่านั้น สุขภาพ นอกจากหมายถึง ภาวะที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม แล้วยังงรวม ถึงต้องมี “จิตวิญญาณ” ดีด้วย (บวร งามศิริอุดม, 2544)
http://advisor.anamai.moph.go.th/main.php
การสร้างเสริมสุขภาพองค์รวม Holistic Health Promotion กระบวนการสนับสนุนหรือกระตุ้นให้บุคคล ครอบครัว ชุมชนและสังคมเพิ่มขีดความสามารถและรับผิดชอบในการดูแลตนเองโดยการควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ และจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาสุขภาพให้เกิดดุลยภาพ มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ทำให้เกิดความผาสุก มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสามารถประกอบกิจกรรมประจำวันได้อย่างเต็มขีดความสามารถ
Pender’s Health Promotion Theory ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ “Health Promotion” : การส่งเสริมสุขภาพ เป็นการกระตุ้นให้บุคคลเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เพื่อยกระดับ สุขภาพไปสู่การมีสุขภาพดี มีความผาสุกสูงสุดเท่าที่เป็นไปได้ มีเป้าหมายที่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น “Disease Prevention” : การป้องกันโรค เป็นการมุ่งให้บุคคลปฏิบัติพฤติกรรมเพื่อหลีกเลี่ยงการเจ็บป่วย หรือเสี่ยงต่อการเป็นโรค.....เท่านั้น สร้างสุขภาพ ใช้งบประมาณน้อยกว่า ซ่อมสุขภาพ
Health Promotion Model ลักษณะเฉพาะและ ประสบการณ์ของบุคคล ความคิดและอารมณ์ ต่อพฤติกรรม พฤติกรรมผลลัพธ์ การรับรู้ประโยชน์ ของการปฏิบัติ การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง ความจำเป็นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม ความมุ่งมั่นที่จะ ปฏิบัติพฤติกรรม พฤติกรรม ส่งเสริมสุขภาพ ปัจจัยส่วนบุคคล - ชีววิทยา - จิตวิทยา - ส้งคม วัฒนธรรม อิทธิพลระหว่างบุคคล (ครอบครัว เพื่อน ทีมสุขภาพ บรรทัดฐาน ตัวแบบ ) อิทธิพลจากสถานการณ์ Health Promotion Model (Pender, N.J.,Murdaugh, C.L. & Parsons,M.A.,2006:50)
ใช้ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ Self Efficacy Theory (Bandura , 1987) ทฤษฎีความเชื่อมั่นในความสามารถของตน ใช้ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ mastery experiences โดยการใช้ตัวแบบ vicarious experience การใช้คำพูดชักจูง verbal persuasion การกระตุ้นทางอารมณ์ emotional arousal More Powerful ความคาดหวังในความสามารถของตน Efficacy Expectation การปฏิบัติพฤติกรรม Less Powerful
ความคาดหวังในผลลัพธ์ ความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความสามารถของตนเอง + ความคาดหวังในผลลัพธ์ ที่มี ต่อพฤติกรรม และ สภาวะทางอารมณ์ การรับรู้ความ สามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ สูง ต่ำ มีแนวโน้ม ที่จะทำแน่นอน ที่จะไม่ทำ ที่จะไม่ทำแน่นอน
Social Support แรงสนับสนุนทางสังคม ( House, 1986 ) Emotional Support : ให้ความพอใจ ห่วงใย ยอมรับนับถือ Instrumental Support : เครื่องมือ แรงงาน เงิน Information Support : ข้อมูลข่าวสาร Appraisal Support : ให้การประเมินผล ข้อมูลป้อนกลับ บอกให้ทราบผลดีที่ผู้รับได้ปฏิบัติพฤติกรรม **กลุ่มปฐมภูมิ : บุคคลในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน **กลุ่มทุติยภูมิ : เพื่อนร่วมงาน แพทย์ พยาบาล ครู พระ อสม.
ขั้นตอนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Stages of Change ขั้นตอนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คงพฤติกรรม ปฏิบัติ ลองทำดู ทำจนเป็นนิสัย ชั่งใจ เอ๊ะ เตรียมพร้อม ก่อนชั่งใจ ไม่สน ไม่รับรู้ เอาล่ะ เริ่มละนะ
Ottawa Charter for Health Promotion กระบวนการของการ เพิ่มสมรรถนะ ให้คนมีความสามารถในการควบคุม ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ และเป็นผลให้บุคคล มีสุขภาพดี สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เหมาะสม รวมถึงการปรับสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี
Ottawa Charter For Health Promotion
การสร้างเสริมสุขภาพใน กฎบัตรออตตาวา สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Build Healthy Public Policy) ปรับเปลี่ยนบริการสุขภาพ (Reorient Health Services) สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Create Supportive Environments) พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Develop Personal Skills) เพิ่มความสามารถของชุมชน (Strengthen Community Action) ดำเนินการไปด้วยกัน สร้างความรู้ความเข้าใจอย่างกว้างขวาง เกิดการสนับสนุน การมีส่วนร่วม จากชุมชน และยั่งยืน
1. สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Build Healthy Public Policy) Policy กฎหมาย/ข้อบังคับ : การทิ้งสิ่งปฏิกูล ตั้งโรงงาน สถานประกอบการ การจราจร การเกษตรกรรม ข้อปฏิบ้ติ/กฎระเบียบ : เขตปลอดบุหรี่ ใช้บันไดแทนลิฟต์ ออกกำลังกาย งดขายน้ำอัดลม สวมอุปกรณ์ป้องกัน ความร่วมมือ : การแยกขยะ ลดน้ำตาลในขนมหวาน มาตรการภาษี : เก็บภาษีเหล้า บุหรี่ เพิ่มภาษีน้ำหวาน
2. ปรับระบบบริการสุขภาพ (Reorient Health Service) บริการแบบผสมผสาน ดูแลสุขภาพองค์รวม (holistic) มีระบบส่งต่อการดูแล (referral system) ส่งเสริมให้มีการดูแลตนเอง (self care) เชิงรุก> เชิงรับ สร้าง/ป้องกัน นำ ซ่อม ลดปัจจัยเสี่ยงต่อ สุขภาพ
3. สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Create Supportive Environment) บ้าน ที่ทำงาน โรงเรียน สวนสาธารณะ (กายภาพ ชีวภาพ) สถานที่ทำงานน่าอยู่ ( healthy workplace) เมืองน่าอยู่ ( healthy city) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (health promoting school ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (health promoting hospital )
ให้บุคคล ครอบครัว กลุ่มในชุมชน ด้วยรูปแบบต่างๆ 4. พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Develop Personal Skills) ให้บุคคล ครอบครัว กลุ่มในชุมชน ด้วยรูปแบบต่างๆ จัดตั้งกลุ่ม เครือข่าย การสื่อสารข้อมูลสุขภาพ การจัดโครงการ/อบรม
5. เพิ่มความสามารถของชุมชน (Strengthen Community Action) การรวมกลุ่ม กระบวนการชุมชน ร่วมจัดกิจกรรม เสริมพลังให้ประชาชน (empowerment) ประชาชนมีส่วนร่วม (participation) ค้นหาปัญหา วางแผน ตัดสินใจ งบประมาณ ดำเนินงาน ติดตาม-ประเมินผล
กฎบัตรกรุงเทพ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพโลก ให้ชี้แนะให้การส่งเสริมสุขภาพอยู่บนพื้นฐานสิทธิมนุษยชน 2. ให้กำหนดนโยบาย แนวทางการปฏิบัติ โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้องอย่างยั่งยืน ในการจัดการปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 3. ให้สร้างศักยภาพในการส่งเสริมสุขภาพทั้ง 5 ด้าน พัฒนานโยบาย ภาวะผู้นำ การดำเนินงานเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ องค์ความรู้ทางสุขภาพและการวิจัย ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ 4. สร้างพันธมิตรด้านสุขภาพทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรฯสาธารณะ 5. การใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยและส่งเสริมให้ประชาชนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงการมีสุขภาพที่ดี”
รูปแบบการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ สถานที่ (setting) : สถานที่ /บริเวณไหน บ้าน โรงเรียน โรงงาน โรงพยาบาล วัด กลุ่มประชากร (population) : ประชากรเป้าหมายที่ประสบปัญหาสุขภาพ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้ใช้แรงงาน ผู้สูงอายุ ปัญหาสุขภาพ (health issue) : ตัวการที่ทำลายสุขภาพ โรคเรื้อรัง บุหรี่ สุรา ยาเสพติด โรคเอดส์ อุบัติเหตุ