ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

สถานการณ์น้ำในปัจจุบัน
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
ณ 31 พฤษภาคม
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
ผอ. พงษ์นรา เย็น ยิ่ง. อัตราบรรจุ ข้าราชการ -12 พนักงาน ราชการ -4 ลูกจ้าง -18 รวม -34 อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ถูกยืมตัว - ลาเรียน - ผอ. กองบูรณะและบำรุงรักษา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประชุมประจำเดือนครั้งที่ 5-6/2558
สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1.
นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
มองอนาคต “ เทือกเขานครศรีฯ ” ด้วยข้อมูลและเครือข่าย
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ปฏิบัติการร่วมป้องกันและบรรเทาอุทกภัยภาคใต้ ประจำวันที่ 5 ตุลาคม 2557 ( เวลา น. )
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 15 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ ครั้งที่ 10/2555 วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม 2555 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว   ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ สรุปผลการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ เพื่อนำเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ 10.00-12.00 น.

หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว   ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว เฝ้าติดตามพายุดีเปรสชั่นบริเวณประเทศฟิลิปปินส์ ที่จะทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุหมุนเขตร้อน และอาจเคลื่อนลงสู่ทะเลจีนใต้ตอนบนตามแนวร่องมรสุม ทำให้มีฝนเพิ่มขึ้นในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนในสัปดาห์หน้า เฝ้าติดตามปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนวชิราลงกรณ เนื่องจากมีปริมาณน้ำไหลลงเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก และในสัปดาห์หน้ามรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะยังคงพัดปกคลุมซึ่งอาจส่งผลให้มีฝนตกต่อเนื่องในพื้นที่เหนือเขื่อน การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ในช่วงที่ผ่านมา (1 ม.ค. ถึง 18 ก.ค. 55) เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี 1,187 ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 14% เขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี 1,589 ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 9% แต่จากการระบายน้ำเพื่อการเกษตรและป้องกันอุกทกภัยตามแผนที่ผ่านมา ทำให้ปัจจุบันเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ยังสามารถรับน้ำได้อีก 7,373 ล้าน ลบ.ม. และ 5,369 ล้าน ลบ.ม. ตามลำดับ ในระยะต่อไปเสนอให้บริหารจัดการน้ำของเขื่อนทั้ง 2 แห่ง ดังนี้

หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว   ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว ระยะยาว (ปัจจุบัน ถึง 1 พ.ย. 55) คาดการณ์ว่าจะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนภูมิพลในเกณฑ์น้ำปานกลาง และจะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนสิริกิติ์ในเกณฑ์น้ำมาก ระยะสั้น (19-25 ก.ค. 55) เขื่อนภูมิพล เสนอให้ยังคงการระบายอยู่ที่วันละ 10 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ 22 ก.ค. 55 หลังจากนั้นจะลดการระบายลงเหลือวันละ 5 ล้านลูกบาศก์เมตร เขื่อนสิริกิติ์ เสนอให้ยังคงการระบายอยู่ที่วันละ 12 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ 22 ก.ค. 55 หลังจากนั้นจะลดการระบายลงเหลือวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร

หัวข้อการประชุม รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม   รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม ได้มีการพิจารณาทบทวนแผนการระบายน้ำที่เขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์น้ำฝน-น้ำท่าปัจจุบันและการคาดการณ์สถานการณ์น้ำที่จะเกิดขึ้น ทางกรมชลประทานจึงเสนอให้ กฟผ. ปรับแผนการระบายน้ำ ระหว่างวันที่ 23 กรกฎาคม-31 ตุลาคม 2555 จากเดิมที่ระบายน้ำวันละ 16 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำรวมทั้งสิ้น 1325 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มขึ้นจากเดิม 12 ล้าน ลบ.ม. แบ่งเป็น 3 ช่วง ดังนี้ 23 ก.ค.-12 ส.ค. อัตราเฉลี่ยรวมวันละ 22 ล้าน ลบ.ม. 13 ส.ค.-2 ก.ย. อัตราเฉลี่ยรวมวันละ 13 ล้าน ลบ.ม. 23 ส.ค.-31 ต.ค. อัตราเฉลี่ยรวมวันละ 10 ล้าน ลบ.ม. (ที่ กษ 0327/7500 ลงวันที่ 23 กรกฎาคม 2555)

หัวข้อการประชุม   รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม

หัวข้อการประชุม รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม   รายงานสถานการณ์เพิ่มเติม สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก มีแนวโน้มน้ำไหลลงอ่างมากขึ้น แต่ยังอยู่ในเกณฑ์น้อย (ข่าวสถานการณ์น้ำกรมชลประทาน 23 ก.ค. 2555)

สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน จากการคาดการณ์ในสัปดาห์ที่แล้ว 26 กรกฎาคม 2555

พายุ “วีเซนเต(VICENTE)” ที่มา : http://weather.unisys.com/hurricane/w_pacific/2012/VICENTE/track.gif

แผนภาพฝนสะสมรายวัน (21-24 ก.ค.55) 21 ก.ค. 55 22 ก.ค. 55 23 ก.ค. 55 24 ก.ค. 55

เรดาร์สกลนคร (22-25 ก.ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 22 ก.ค. 55 23 ก.ค. 55 24 ก.ค. 55 25 ก.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา

เรดาร์เชียงราย (22-25 ก.ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 22 ก.ค. 55 23 ก.ค. 55 24 ก.ค. 55 25 ก.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา

เรดาร์อมก๋อย (22-25 ก.ค. 55) ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร 22 ก.ค. 55 23 ก.ค. 55 24 ก.ค. 55 25 ก.ค. 55 ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร

ฝนสะสมย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (24 ก.ค. 55 เวลา 17.00 น.)

สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 45% (25 ก.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 7,381 ล้าน ลบ.ม. 10 ล้าน ลบ.ม./วัน (25 ก.ค.55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์ ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 44% (25 ก.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 5,311 ล้าน ลบ.ม. 12 ล้าน ลบ.ม. (25 ก.ค55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำระบายรายวัน 131.43 ล้าน ลบ.ม. (20 ก.ค.55) 19-20 ก.ค.55 ระบายวันละ 30 ล้าน ลบ.ม. ปัจจุบันมีปริมาณน้ำกักเก็บ 55% สามารถรับน้ำได้อีก 3,880 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 12% (25 ก.ค.55) ปริมาณน้ำไหลเข้าค่อนข้างน้อย 1 ล้าน ลบ.ม. (25 ก.ค.55) ที่มา : กรมชลประทาน

ระดับน้ำในแม่น้ำยมที่สถานี YOM001 อ.ปง จ.พะเยา 293.35 ม.รทก. (24 ก.ค. 55 : 21.00 น.) ระดับตลิ่ง 293.08 ม.รทก. 290.45 ม.รทก. (26 ก.ค. 55 : 10.00 น.) - ในวันที่ 24 ก.ค. 55 ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้น 3.4 เมตรในเวลา 11 ชั่วโมง (6.00 -17.00 น.) - ช่วงเวลา 12.00-17.00 น. ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เฉลี่ยชั่วโมงละ 50 ซม. ปัจจุบันสถานการณ์เข้าสู่สภาวะปกติ

ระดับน้ำในแม่น้ำยมที่สถานี Y.1C อ.เมือง จ.แพร่ 650 ลบม./วิ (26 ก.ค. 55 ) เฝ้าติดตาม ปริมาณน้ำเพิ่มสูงขึ้นค่อนข้างมากช่วงวันที่ 25-26 ก.ค. 55 22 ก.ค. 58 ลบ.ม./วิ 23 ก.ค. 54 ลบม./วิ 24 ก.ค. 55 ลบ.ม./วิ 25 ก.ค. 400 ลบ.ม./วิ 26 ก.ค. 650 ลบ.ม./วิ

หัวข้อการประชุม การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า   การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า 2.1 สถานการณ์ฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา, สสนก.) 2.2 สถานการณ์เขื่อน (กฟฝ., กรมชลประทาน) 2.3 สถานการณ์ลำน้ำ (กรมชลประทาน) 2.4 สถานการณ์น้ำใน กทม (กทม.) 2.5 สถานการณ์น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กรมทรัพยากรน้ำ) วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 3.1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ 3.2 สรุปข้อเสนอแนะ

ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 19 กรกฎาคม 2555 BK 1-11 12-18 ก.ค. 2555 BK 1-11 19-25 ก.ค. 2555

สรุป ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป สรุปสถานการณ์สมดุลน้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปประเด็นสำคัญอื่นๆ สรุปสถานการณ์และข้อเสนอแนะ นำเสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555 เวลา 10.00-12.00 น. ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป วันพุธที่ 1 สิงหาคม 2555 เวลา 13.30-16.00 น. ที่ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

จบการรายงาน

25

การวิเคราะห์สมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่ วิเคราะห์สถานการณ์น้ำความเสี่ยงน้ำท่วมด้วยแบบจำลองน้ำท่วม วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ปริมาณน้ำขาดดุลด้วยแบบจำลองการบริหารจัดการน้ำ

การวิเคราะห์สมดุลน้ำ Block10 Schematic diagram

การวิเคราะห์สมดุลน้ำ Block11 Schematic diagram

การวิเคราะห์สมดุลน้ำรายเดือนด้วยแบบจำลอง SWAT ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือน   พ.ค. มิ.ย. Block3 322.59 101.11 Block4 281.84 84.60

BK 3 พ.ค. 2555 BK 4 พ.ค. 2555 BK 3 มิ.ย. 2555 BK 4 มิ.ย. 2555

คณะทำงาน คณะทำงานทำหน้าที่รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์น้ำ ประชุมทุกวันพฤหัส เวลา 13.30-16.00 น. ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงาน ดังต่อไปนี้ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมอุตุนิยมวิทยา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สำนักระบายน้ำ กทม. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) 32

แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน การจำลองสภาพลุ่มน้ำ ผ่านการสร้าง Schematic diagram ข้อมุลนำเข้า เช่น ข้อมูลฝน เขื่อน การใช้น้ำต่างๆ Scenarios analysis & optimization ของเขื่อน เพื่อประโยชน์สูงสุดในการจัดสรรน้ำ ใช้แบบจำลองในการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแล้ง-น้ำท่วม เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบใน Mike Flood ต่อไป

แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน สมดุลน้ำนอกเขตพื้นที่ชลประทานจะวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลอง SWAT โดยคำนึงถึงปริมาณฝน สภาพดิน และความต้องการใช้น้ำของพืชตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน