งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ 14/2555 วันพุฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม 2555 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

2 วาระการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ สรุปผลการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ เพื่อนำเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ น.

3 หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว เฝ้าระวังพายุไคตั๊ก (KAT-TAK) ที่จะเคลื่อนขึ้นฝั่งบริเวณเหนือเกาะไหหลำ และอาจส่งผลให้ช่วงวันที่ ส.ค. 55 มีฝนตกหนักบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) เฝ้าติดตามปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนวชิราลงกรณ ในช่วงที่ผ่านมาเขื่อนวชิราลงกรณมีน้ำไหลเข้าสูงมาก และคาดว่าในช่วงวันที่ ส.ค. 55 จะมีปริมาณน้ำไหลเข้ามากถึง 450 ล้านลูกบาศก์เมตร และสามารถรับน้ำได้อีกเพียง 2,235 ล้านลูกบาศก์เมตร แผนการระบาย เสนอให้ระบายน้ำไม่เกินวันละ 40 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงกลางเดือนกันยายน โดยสามารถปรับลดการระบายน้ำตามความเหมาะสมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ด้านท้ายน้ำ ข้อเสนอระยะยาว ในภาวะวิกฤตเขื่อนวชิราลงกรณและเขื่อนศรีนครินทร์ไม่สามารถระบายน้ำได้เต็มศักยภาพความจุลำน้ำ เนื่องจากมีการรุกล้ำลำน้ำ ในกรณีต้องระบายน้ำฉุกเฉิน กฟผ. จะต้องแจ้งผู้รุกล้ำลำน้ำล่วงหน้า 2 วัน ดังนั้นในระยะยาวควรมีมาตรการแก้ไขปัญหาการรุกล้ำลำน้ำ 3) เขื่อนอุบลรัตน์ มีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปีน้อยมาก ทำให้ปัจจุบันมีปริมาณน้ำใช้การเพียง 20 ล้านลูกบาศก์เมตร จึงมีความเสี่ยงต่อสภาวะน้ำแล้ง เสนอให้ กฟผ. กรมชลประทาน และคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำจังหวัดขอนแก่น ร่วมกันพิจารณาปรับลดการระบายให้เหมาะสม

4 หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว 4) การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ในช่วงที่ผ่านมา (1 ม.ค. ถึง 14 ส.ค. 55) เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี 1,664 ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 5% เขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี 2,626 ล้าน ลบ.ม. มากกว่าค่าเฉลี่ย 6% ปัจจุบันเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ยังสามารถรับน้ำได้อีก 7,126 ล้าน ลบ.ม. และ 4,650 ล้าน ลบ.ม. ตามลำดับ ในระยะต่อไปเสนอให้บริหารจัดการน้ำของเขื่อนทั้ง 2 แห่ง ดังนี้ ระยะยาว (ปัจจุบัน ถึง 1 พ.ย. 55 ) การคาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่วันที่ 26 ก.ค. 55 ถึงวันที่ 1 พ.ย. 55 พบว่าเขื่อนภูมิพลจะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 5,339 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนสิริกิติ์ จะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 4,434 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์จะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 2,279 ล้าน ลบ.ม. โดยปริมาณน้ำไหลเข้าของทั้ง 3 เขื่อนอยู่ในเกณฑ์น้ำปานกลาง ควรบริหารเขื่อนทั้งสามโดยมีเป้าหมาย คือให้มีปริมาณน้ำกักเก็บในเขื่อนภูมิพลไม่ต่ำกว่า 74% เขื่อนสิริกิติ์ไม่ต่ำกว่า 82% และป่าสักชลสิทธิ์ไม่ต่ำกว่า 90% เมื่อสิ้นฤดูฝน เพื่อให้เขื่อนทั้งสามแห่ง มีปริมาณน้ำเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำในช่วงฤดูแล้งต้นปี 2556 ระยะสั้น ในส่วนของเขื่อนภูมิพล เสนอให้ยังคงระบายน้ำวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร สำหรับเขื่อนสิริกิติ์ เสนอให้ระบายวันละ 15 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ 19 ส.ค. 55 หลังจากนั้นให้ลดการระบายลงเหลือวันละ 10 ล้านลูกบาศก์เมตร

5 หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว
ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว 5) คาดการณ์สถานการณ์ฝน ตั้งแต่ต้นปี 2555 ปริมาณฝนบริเวณภาคเหนือมีลักษณะคล้ายกับปี 2544 (เกณฑ์ฝนปานกลาง) และจากการคาดการณ์ฝนทั่วประเทศด้วยดัชนี ONI, PDO และ IOD พบว่าแนวโน้มของปริมาณฝนต่อจากนี้ มีลักษณะคล้ายกับปี 2551 และปี 2552 (เกณฑ์ฝนปานกลาง) ล่วงหน้า 3 เดือน ประเทศไทยจะมีฝนมากในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคเหนือฝั่งตะวันออก ล่วงหน้า 1 เดือน ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังแรง ซึ่งจะส่งผลให้ด้านตะวันตกของประเทศและแนวรับลมมรสุมมีฝนตกหนัก เฝ้าติดตามฝนตกหนักช่วงวันที่ ส.ค. 55 เนื่องจากมีร่องมรสุมพาดผ่านบริเวณภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังปานกลาง ส่งผลให้อาจเกิดฝนตกหนักบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ด้านตะวันตกของภาคกลาง และภาคตะวันออก

6 สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน จากการคาดการณ์ในสัปดาห์ที่แล้ว
23 สิงหาคม 2555

7 แผนภาพฝนสะสมรายวัน (17-22 ส.ค.55)
17 ส.ค. 55 18 ส.ค. 55 19 ส.ค. 55 20 ส.ค. 55 21 ส.ค. 55 22 ส.ค. 55

8 ปริมาณฝนสะสมย้อนหลัง
ย้อนหลัง 3 วัน ย้อนหลัง 7 วัน

9 เรดาร์พิษณุโลก (17-22 ส.ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 17 ส.ค. 55
18 ส.ค. 55 19 ส.ค. 55 20 ส.ค. 55 21 ส.ค. 55 22 ส.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา

10 เรดาร์ภูเก็ต (17-22 ส.ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 17 ส.ค. 55
18 ส.ค. 55 19 ส.ค. 55 20 ส.ค. 55 21 ส.ค. 55 22 ส.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา

11 สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 47% (22 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าลดลง รับน้ำได้อีก 7,060 ล้าน ลบ.ม. 27ก.ค. -22 ส.ค. 55 ระบายวันละ 8 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

12 สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 52% (22 ส.ค.55) ปริมาณน้ำไหลเข้าลดลง ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 4,527 ล้าน ลบ.ม. ลดการระบายลงเหลือวันละ 10 ล้าน ลบ.ม.ตั้งแต่วันที่ 20 ส.ค.55 ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

13 สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 78% (22 ส.ค.55) สูงกว่าปี 54 และอยู่ในระดับเดียวกันกับปี 51 ปริมาณน้ำไหลเข้าลดลง ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 1,911 ล้าน ลบ.ม. 39.55 ล้าน ลบ.ม. (22 ส.ค.55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

14 สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 16% ( 22 ส.ค.55) ปริมาณน้ำไหลเข้าเพิ่มขึ้นเล็กน้อย 10 ก.ค. – 22 ส.ค. ระบายวันละ 1 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

15 สถานการณ์น้ำเขื่อนอุบลรัตน์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 24% ( 22 ส.ค.55) ปริมาณน้ำไหลเข้าน้อยมาก ปริมาณน้ำระบายรายวัน 22 ส.ค.55 ระบาย 0.56 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

16 รายงานสถานการณ์น้ำท่วม
จังหวัดภูเก็ต 22 ส.ค. 55 เวลาประมาณ น. ฝนตกหนักทําให้เกิดน้ำทวมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก 3 อําเภอ ไดแก อําเภอเมือง กระทู้และอําเภอถลาง ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแลว จังหวัดพังงา 22 ส.ค. 55 เวลาประมาณ น. ฝนตกหนักทําใหเกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก 1 อําเภอ ไดแก อําเภอท้ายเหมือง ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแลว จังหวัดแพร่ 20 ส.ค. 55 เวลาประมาณ น. เกิดฝนตกหนักทําให้น้ำจากลําเหมืองข้ามถนนสี่เลน ร้องกวาง-เมืองแพร เขาทวมในพื้นที่อําเภอร้องกวาง ตําบลแมยางตาล (หมูที่ 3,6) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 14 ครัวเรือน 30 คน รั้วบ้าน 1 แหง รถยนต์ 1 คัน จักรยานยนต์ 2 คัน คอกหมู 1 แหง ปัจจุบัน สถานการณ์คลี่คลายแลว ที่มา : ปภ. รายงาน ณ วันที่ 23 ส.ค. 55

17 ภาพน้ำท่วมที่ภูเก็ต ปัจจุบันสถานการณ์เข้าสู่สภาวะปกติ

18 รายงานพื้นที่เกิดฝนทิ้งช่วง
สุรินทร์ จํานวน 12 อําเภอ ไดแก อําเภอชุมพลบุรี สําโรงทาบ กาบเชิง เขวาสินรินทร จอมพระ บัวเชต ปราสาท พนมดงรัก เมือง ศรีณรงค สนม และอําเภอสังขะ พื้นที่ไดรับผลกระทบและความเดือดรอน 107 ตําบล 1,377 หมูบาน 113,680 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตรรวม 957,982 ไร บุรีรัมย์ จํานวน 6 อําเภอ ไดแก อําเภอโนนสุวรรณ นางรอง หนองกี่ ลําปลายมาศ สตึก และอําเภอพุทไธสง พื้นที่ไดรับผลกระทบและความเดือดร้อน 56 ตําบล 714 หมู่บ้าน นครศรีธรรมราช จํานวน 13 อําเภอ ได้แก อําเภอชะอวด เชียรใหญ เฉลิมพระเกียรติ ปากพนัง หัวไทร เมือง สิชล ทาศาลา จุฬาภรณ นบพิตํา พรหมคีรี ลานสกา และอําเภอรอนพิบูลย พื้นที่ไดรับผลกระทบและความเดือดรอน 93 ตําบล 827 หมูบาน 107,375 ครัวเรือน 312,676 คน พื้นที่การเกษตร รวม 181,200 ไร พัทลุง จํานวน 11 อําเภอ ไดแก อําเภอเมือง ควนขนุน ศรีบรรพต บางแกว ปาพะยอม เขาชัยสน ปากพะยูน กงหรา ตะโหมด ปาบอน และอําเภอศรีนครินทร พื้นที่ไดรับผลกระทบและความเดือดรอน 64 ตําบล 655 หมูบาน 69,050 ครัวเรือน 156,644 คน พื้นที่การเกษตรรวม 310,192 ไร พังงา อําเภอเกาะยาว 3 ตําบล 8 หมูบาน ราษฎรไดรับความเดือดรอน 112 ครัวเรือน 621 คน สุราษฎร์ธานี จํานวน 7 อําเภอ ไดแก อําเภอเกาะพะงัน ดอนสัก เกาะสมุย ทาชนะ กาญจนดิษฐ์ พุนพิน และอําเภอทาฉาง พื้นที่ไดรับผลกระทบและความเดือดรอน 29 ตําบล 242 หมูบาน 30,425 ครัวเรือน 113,754 คน พื้นที่การเกษตร รวม 128,278 ไร่ ที่มา : ปภ. รายงาน ณ วันที่ 23 ส.ค. 55

19 การประเมินผลกระทบของสภาวะฝนที่มีต่อพืช
เดือนมิถุนายน 2555 เดือนกรกฎาคม 2555 กรมอุตุนิยมวิทยา โดยศูนย์ภูมิอากาศ ทำการวิเคราะห์ดัชนีความแห้งแล้งทางการเกษตร โดยใช้ Generalized Monsoon Index (GMI) แสดงถึงผลกระทบที่อาจเกิดแก่พืชที่กำลังเจริญเติบโต อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการขาดแคลนความชื้น ทาให้สามารถทราบสภาวะโดยทั่วไปของพืชใช้น้ำฝนที่ปลูกในฤดูมรสุม เกณฑ์ GMIpct สภาวะของพืช แล้งจัด แล้ง ค่อนข้างแล้ง ปกติ ความชื้นสูงกว่าปกติ ความชื้นเกินความต้องการ

20 หัวข้อการประชุม การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า
การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า 2.1 สถานการณ์ฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา, สสนก.) 2.2 สถานการณ์เขื่อน (กฟฝ., กรมชลประทาน) 2.3 สถานการณ์ลำน้ำ (กรมชลประทาน) 2.4 สถานการณ์น้ำใน กทม (กทม.) 2.5 สถานการณ์น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กรมทรัพยากรน้ำ) วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 3.1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ 3.2 สรุปข้อเสนอแนะ

21 ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 16 สิงหาคม 2555

22 - สชป.3 ปิดการรับน้ำ

23 - สชป.4 รับน้ำเข้าพื้นที่ค่าเฉลี่ยต่ำกว่าแผนเล็กน้อย

24 - ทุ่งฝั่งตะวันออก สชป. 10 และสชป
- ทุ่งฝั่งตะวันออก สชป.10 และสชป.11 รับน้ำเข้าพื้นที่ค่าเฉลี่ยต่ำกว่าแผนเล็กน้อย

25 - ทุ่งฝั่งตะวันตก สชป. 12 และสชป
- ทุ่งฝั่งตะวันตก สชป.12 และสชป.11 รับน้ำเข้าพื้นที่ค่าเฉลี่ยต่ำกว่าแผนเล็กน้อย

26 สรุป ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป
สรุปสถานการณ์สมดุลน้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปประเด็นสำคัญอื่นๆ สรุปสถานการณ์และข้อเสนอแนะ นำเสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการ ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม 2555 เวลา น. ที่ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

27 จบการรายงาน

28 การวิเคราะห์สมดุลน้ำรายเดือนด้วยแบบจำลอง SWAT
เดือนกรกฎาคม 2555 BK 3 พ.ค. 2555 BK 4 พ.ค. 2555 BK 3 มิ.ย. 2555 BK 4 มิ.ย. 2555 BK 3 ก.ค. 2555 BK 4 ก.ค. 2555

29 ข้อมูลฝนรายสัปดาห์จากกรมอุตุนิยมวิทยา
29 29

30 ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนของกรมอุตุนิยมวิทยา
ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนอัตโนมัติ ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนอำเภอ 30 30

31 การใช้ข้อมูลฝนอำเภอของกรมอุตุนิยมวิทยา
การใช้ข้อมูลฝนอำเภอเพื่อการพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ปริมาณน้ำท่า ที่สถานี Y.1C พบว่าคุณภาพข้อมูลมีความถูกต้องสามารถนำมาใช้พิจารณาได้ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) =0.862 WBL =-0.1% 31 31

32 การวิเคราะห์สมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่
วิเคราะห์สถานการณ์น้ำความเสี่ยงน้ำท่วมด้วยแบบจำลองน้ำท่วม วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ปริมาณน้ำขาดดุลด้วยแบบจำลองการบริหารจัดการน้ำ

33 การวิเคราะห์สมดุลน้ำ
Block10 Schematic diagram

34 การวิเคราะห์สมดุลน้ำ
Block11 Schematic diagram

35

36 การวิเคราะห์สมดุลน้ำรายเดือนด้วยแบบจำลอง SWAT
เดือนกรกฎาคม 2555 ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือน พ.ค. มิ.ย. ก.ค. Block3 322.59 101.11 161.66 Block4 281.84 84.60 176.11

37 คณะทำงาน คณะทำงานทำหน้าที่รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์น้ำ
ประชุมทุกวันพฤหัส เวลา น. ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงาน ดังต่อไปนี้ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมอุตุนิยมวิทยา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สำนักระบายน้ำ กทม. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) 37

38 แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน
การจำลองสภาพลุ่มน้ำ ผ่านการสร้าง Schematic diagram ข้อมุลนำเข้า เช่น ข้อมูลฝน เขื่อน การใช้น้ำต่างๆ Scenarios analysis & optimization ของเขื่อน เพื่อประโยชน์สูงสุดในการจัดสรรน้ำ ใช้แบบจำลองในการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแล้ง-น้ำท่วม เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบใน Mike Flood ต่อไป

39 แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน
สมดุลน้ำนอกเขตพื้นที่ชลประทานจะวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลอง SWAT โดยคำนึงถึงปริมาณฝน สภาพดิน และความต้องการใช้น้ำของพืชตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน


ดาวน์โหลด ppt ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google