3 ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมโรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
จังหวัดสมุทรปราการ.
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ท่าเรือกรุงเทพ
การดำเนินงานต่อไป.
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ และตัวชี้วัดระดับกรมฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ 3 ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมโรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพ นายแพทย์วิชาญ ปาวัน หัวหน้ากลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ

หัวข้อนำเสนอเพื่อการอภิปราย เรื่องที่ ๑ ข้อกำหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ เรื่องที่ ๒ การพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศตามข้อกำหนดของกฎ อนามัยระหว่างประเทศ เรื่องที่ ๓ แผนการดำเนินงาน ประจำปี ๒๕๕๗ เรื่องที่ ๔ ชี้แจงแผนการติดตาม/กำกับ/ประเมิน

เรื่องที่ ๑ ทบทวนข้อกำหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘

IHR (2005) คืออะไร IHR (2005) เป็นข้อตกลงที่มีสถานะผูกพันธ์ระหว่างประเทศ ได้รับการรับรองในที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลก ครั้งที่ ๕๘ เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีทั้งหมด ๖๖ มาตรา กับ ๙ ผนวก ครม. มีมติรับรองและให้ประเทศไทยปฏิบัติตามกฎอนามัยฉบับดังกล่าว ครม. มอบหมายให้ กสธ. เป็นผู้ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการ เจตนารมณ์ของ IHR เพื่อป้องกัน คุ้มครอง ควบคุม โรคและภัยสุขภาพ ด้วยมาตรการทางสาธารณสุขอย่างเต็มที่ โดยให้มีผลกระทบต่อการเดินทางและการค้าขายระหว่างประเทศให้น้อยที่สุด

กรอบเวลาของการพัฒนาตามข้อกำหนดของ IHR 2005 กิจกรรม ปี ระยะเวลา สมัชชาองค์การอนามัยโลกให้สัตยาบัน ๒๕๔๘ - มีผลบังคับใช้ ๑๕ มิ.ย. ๒๕๕๐  - ประเมินสมรรถนะหลัก (Assessment of core capacities) ๒๕๕๐ - ๒๕๕๒ ๒ ปี พัฒนาสมรรถนะหลัก ๒๕๕๒ - ๒๕๕๕ ๓ ปี ขอต่อเวลา โดยแนบเหตุผลความจำเป็น ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗ ภาวะไม่ปกติ ขอต่อเวลา โดยแนบแผนฯ (DG/WHO) ๒๕๕๗ - ๒๕๕๙

แนวทางการพัฒนาตามข้อกำหนดใหม่ของกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) ตามคำแนะนำองค์การอนามัยโลก (WHO) พัฒนาขีดความสามารถหลักของประเทศ ระบบเฝ้าระวัง การป้องกัน ควบคุมโรค การตอบโต้/เผชิญเหตุ มาตรการที่ช่องทางฯ สมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศ การป้องกัน และตอบโต้ภัยสาธารณสุขฉุกเฉินที่มีผลกระทบระหว่างประเทศ ผสานความร่วมมือในการตอบโต้อย่างทันถ่วงที เสริมสร้างความเข้มแข็ง การจัดการความเสี่ยงเฉพาะที่สำคัญ ที่มีผลกระทบต่อสาธารณสุขระหว่างประเทศ

Strengthen public health security in travel and transport STRENGTHEN NATIONAL CAPACITY 3 Strengthen public health security in travel and transport The risk of international spread of disease is minimized through effective permanent public health measures and response capacity at designated airports, ports and ground crossings in all countries. ผลลัพธ์ที่คาดหวัง สถานนะ ผู้รับผิดชอบ 1. สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ที่ผู้เดินทางใช้ ณ บริเวณช่องทางเข้าออกประเทศจะต้องอยู่ในสภาพที่ถูกสุขลักษณะ รักษาให้อยู่ในสภาพที่ปลอดจากแหล่งติดเชื้อหรือปนเปื้อน รวมถึงทั้ง พาหะนำโรคและแหล่งรังโรค งานประจำที่ต้องปฏิบัติ (Requiring: M&E, POE certification) ผู้บริหารช่องทาง สธ. ควบคุมกำกับ 2. มีมาตรการในภาวะปกติ (routine measures) ตามข้อกำหนดของกฎอนามัย ตรวจตราดูแลสังเกต ผู้เดินทาง กระเป๋าเดินทาง สินค้าบรรทุก ตู้บรรทุกสินค้า ยานพาหนะ สินค้าอื่นๆ พัสดุไปรษณียภัณฑ์ ศพที่ขาออกไปจากหรือขาเข้าจากพื้นที่ที่เขตติดโรคได้รับผลกระทบ งานประจำที่ต้องปฏิบัติตามขอบเขตกฎหมาย (Requiring: sustained advocacy, partnerships) หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ด่าน คร. ผู้ประสานหลัก 3. มีแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ และสามารถปฏิบัติได้ ณ ทุกช่องทางที่กำหนด งานที่ต้องพัฒนา (Requiring: M&E) 4. ช่องทางที่กำหนด สามารถดำเนินมาตรการทางสาธารณสุขที่แนะนำ ได้อย่างทันถ่วงที งานที่ต้องเพิ่มความเข้มแข็ง (Requiring: training, technical support, etc) สธ. เป็นหลัก ช่องทาง สนับสนุน 5. การประสานงานระหว่าง WHO และ หน่วยงาน UN ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ และภาคธุรกิจท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ต้องติดตามและพัฒนาองค์ความรู้อยู่ตลอด WHO IHR NFP ประสาน POE focal point ประสาน

เรื่องที่ ๒ การพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ เรื่องที่ ๒ การพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ

นิยามของช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ ตม/ศก/การท่า กรมเจ้าท่า/กรมทางหลวง/ด่านตรวจพืช/ด่านปศุสัตว์....ฯลฯ..... ด่านตรวจคนเข้าเมือง 80 ด่าน ด่านศุลกากร 47 ด่าน ด่านควบคุมโรค 64 ด่าน ด่านส่วนกลาง ด่านส่วนภูมิภาค (สคร.) จุดผ่อนปรนทางการค้า 54 ช่องทาง 18 Designated PoE ด่านส่วนภูมิภาค (สสจ.) ช่องทางธรรมชาติ ทุกตารางเมตรตลอดแนวชายแดน The IHR (2005) define a point of entry as "a passage for international entry or exit of travelers, baggage, cargo, containers, conveyances, goods and postal parcels, as well as agencies and areas providing services to them on entry or exit".

Organizational management of IHR implementation at designated PoE in Thailand Cabinet (Cabinet Resolution) Ministry of Public Health (Inter-ministerial coordinator) National IHR committee (18 ministries) Sub-committee for IHR core capacity development at PoE Chair: Ministry of Transportation Secretariat: BGCD, DDC, MOPH PoE-IHR development team (1-18) Chair: Executive chief of PoE Secretariat: Port Health Office Jurisdiction Governor Sub-committee for Integrated Coordination Sub-committee for Surveillance Capacity Development Sub-committee for Laboratory Capacity development

แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะหลักฯ

แนวทางในการติดตามประเมินผล

การติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนาสมรรถนะหลักของช่องทางที่กำหนด และเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล ประเมินว่า มีหรือไม่มี สมรรถนะหลักตามข้อกำหนดหรือไม่ (Core capacity requirement) - เครื่องมือที่ใช้ WHO-CCAT - ผลประเมิน Y/N จุดแข็ง จุดอ่อน ประเมินติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาสมรรถนะหลัก (Capability level) - เครื่องมือที่ใช้ WHO - IHR monitoring framework (CMI + Ripple model, Potter’s model) - ระบุระดับขีดความสามารถของสมรรถนะแต่ละด้าน Capacity Competency Capability WHO CCAT WHO monitoring framework

วิธีการประเมินและการวิเคราะห์ผล < 1 Fundamental 1 Inputs and processes 2 Outputs and outcomes 3 Additional achievement การพัฒนาอยู่ระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ขีดความสามารถที่จำเป็นขั้นต่ำ (prerequisites) การพัฒนาอยู่ระดับปานกลาง (moderate functioning) ขาดปัจจัยนำเข้า/กระบวนการพัฒนาที่สำคัญ การพัฒนาอยู่ระดับดี (strong functioning) เห็นผลกระบวนการพัฒนา การพัฒนาอยู่ระดับดีมาก (advance) มีการประเมินผลการพัฒนา และเผยแพร่ผล State Parties are expected to achieve level 1 and 2 by 2012

ความก้าวหน้าในการพัฒนาสมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศที่กำหนด ตามข้อกำหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ (ปีงบ ๒๕๕๖)

ผลการประเมินของ designated POE ในภาพรวม < 1 Fundamental 1 Inputs and processes 2 Outputs and outcomes 3 Additional achievement การพัฒนาอยู่ระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ขีดความสามารถที่จำเป็นขั้นต่ำ (prerequisites) การพัฒนาอยู่ระดับปานกลาง (moderate functioning) ขาดปัจจัยนำเข้า/กระบวนการพัฒนาที่สำคัญ การพัฒนาอยู่ระดับดี (strong functioning) เห็นผลกระบวนการพัฒนา การพัฒนาอยู่ระดับดีมาก (advance) มีการประเมินผลการพัฒนา และเผยแพร่ผล ด้านการสื่อสาร/ประสานงาน สมรรถนะหลักในภาวะฉุกเฉิน สมรรถนะหลักภาวะปกติ

เรื่องที่ ๓ แผนการดำเนินงาน ประจำปี ๒๕๕๗

ยุทธศาสตร์ประเทศ-ยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ-แผนงาน-เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557 (country strategy) ย1.สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ย4. ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ยุทธศาสตร์เร่งรัดการพัฒนาประเทศและเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง ระบบบริการสุขภาพมีศักยภาพสามารถรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าหมายการให้บริการของกรม ด่านช่องทางเข้าออกประเทศและจังหวัดชายแดนมีระบบเฝ้าระวัง ควบคุมโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ และภัยสุขภาพได้มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

(รายงานสำนักงบประมาณ) ยุทธศาสตร์ประเทศ-ยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ-แผนงาน-เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2557 ตัวชี้วัด (รายงานสำนักงบประมาณ) จำนวนด่านช่องทางเข้าออกประเทศได้รับารพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ จำนวนจังหวัดชายแดนที่ได้รับการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดนตามมาตรฐานที่กำหนด กิจกรรมหลัก พัฒนาสมรรถนะด่านช่องทางเข้าออกประเทศ และจังหวัดชายแดนเพื่อรองรับการเข้าสู้ประชาคมอาเซียน

แผนงานโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์อาเซียน

แผนงานโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์อาเซียน

เรื่องที่ ๔ ชี้แจงแผนการติดตาม/กำกับ/ประเมิน

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ พ.ศ.2557 ตัวชี้วัดตามพระราชบัญญัติงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ตัวชี้วัด PSA 3 จำนวนด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (PSA 3_1 ด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ /PSA 3_2 จังหวัดชายแดน) PSA 3_1 : จำนวนด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด ตัวชี้วัด SDA 514 (เชิงปริมาณ) : จำนวนด่านช่องทางเข้าออกประเทศได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ตัวชี้วัด SDA 516 (เชิงคุณภาพ) : เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการสร้างเสริมความสามารถในการดาเนินงานด่านช่องทางเข้าออกประเท ศ และจังหวัดชายแดน SDA 516_1 : เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการสร้างเสริมความสามารถในการดำเนินงานด่านช่องทางเข้าออกประเทศ

ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 มิติที่ 1 : ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายการดำเนินการตามตัวชี้วัดที่สำคัญของกรมควบคุมโรคและภารกิจหลักของหน่วยงาน ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 1.1.12 : ร้อยละของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ใช้ข้อมูลเดียวกับ PSA3_1) ตัวชี้วัดระดับ สคร. ตัวชี้วัดที่ 1.1.12 : ระดับความสำเร็จการดำเนินงานเพื่อพัฒนาตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ.ศ. 2548 ของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ

ตัวชี้วัดที่ 1.1.12 : ร้อยละของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด ด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด หมายถึง ด่านช่องทางเข้าออกประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์ตามคู่มือการประเมินสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรมแดนทางบก ที่ประยุกต์มาจากคู่มือการประเมินขององค์การอนามัยโลก (CCAT: Core Capacities Assessment Tools) โดยในปี 2557 วัดที่ระดับคะแนนอย่างน้อยร้อยละ 50 - 80

ตัวชี้วัด (สคร): ระดับความสำเร็จการดำเนินงานเพื่อพัฒนาตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ

ตัวชี้วัด (สคร): ระดับความสำเร็จการดำเนินงานเพื่อพัฒนาตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ

Q&A