บทที่ 1 : บทนำ อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ วท.ม.,วท.บ. รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต บทที่ 1 : บทนำ อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ วท.ม.,วท.บ.
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาแนวคิดและความหลากหลายของเทคโนโลยีเครือข่ายทางสังคม สภาพแวดล้อมแบบออนไลน์ การปรับปรุงสารสนเทศและการจัดการเนื้อหาในเครือข่ายทางสังคมออนไลน์ เครื่องมือและการพัฒนาเครือข่ายทางสังคมออนไลน์ แนวโน้มในการใช้เครือข่ายทางสังคมออนไลน์และกรณีศึกษา Concepts and a variety of social networking technology. Online environment. Improving information and content management in online social networks. Development tools and online social networks. Trends in the use of online social networking and case studies.
ติดต่อผู้สอน อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ ห้อง 3527 ชั้น 2 อาคาร 35 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ email: wipada.ch@ssru.ac.th web site: http://www.teacher.ssru.ac.th/wipada_ch/
แผนการสอนและการประเมิน ดาวน์โหลดได้ที่: http://www.teacher.ssru.ac.th/wipada_ch/pluginfile.php/467/course/summary/TQF3-IFM4301-SNW59.pdf
วีธีการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วน ของการประเมินผล ทดสอบทักษะทางด้านการปฏิบัติ 5 6 7 10 15 20% ทดสอบความรู้ กลางภาค 8 25% ทดสอบความรู้ ปลายภาค 17 ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้วยการใช้โครงงานและการนำเสนอ 16 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน 2-15 10%
โครงงานและการนำเสนอประจำภาคเรียน (Term Project) 20% ให้นักศึกษาออกแบบสื่อเครือข่ายทางสังคม หรือสื่อโซเซลเน็ตเวิร์ค 1 ชิ้นงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ส่วนของระบบ ออกแบบและพัฒนาสื่อเครือข่ายทางสังคม (Social Media) เช่น Web Application , Mobile Application เป็นต้น ส่วนของรายงาน แบบเสนอโครงงาน แผนภาพแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานของระบบ (System Flow Diagram) แผนภาพที่แสดงการทำงานของผู้ใช้ระบบ (Use Case Diagram) แผนภาพบริบท (Context Diagram) แผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล (Data flow Diagram) ผลการออกแบบสื่อเครือข่ายทางสังคม พร้อมคำอธิบายการทำงานของระบบแต่ละส่วน อภิปรายผลการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ
วิธีการเรียนการสอน สัปดาห์แรก ไม่มีการทดสอบ/ทวนสอบความรู้ นักศึกษาเข้าอ่านเอกสาร เพื่อทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) เข้าฟังการบรรยาย (Lecture) / ฝึกปฏิบัติ (Laboratory) นักศึกษาเข้าทำแบบสรุป และ แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)
บทที่ 1 บทนำ Social Networking Management
เอกสารประกอบการสอน ๑) ปรัชญนันท์ นิลสุข. (๒๕๕๖). เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ผลิตตำราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ๒) วิยะดา ฐิตินัชฌิมา. (๒๕๕๓). เครือข่ายสังคมออนไลน์ : แนวโน้ม ปรากฏการณ์ และจริยธรรม. ปีที่ ๓๐ ฉบับที่ ๔ วารสาร Executive Journal. http://www.teacher.ssru.ac.th/wipada_ch/
หัวข้อในการเรียนรู้ ความหมายและความเป็นมาของเครือข่ายสังคม (Social Networking) แนวคิดและทฤษฎีเครือข่ายทางสังคม ทฤษฎีนำเข้า (Imported theories) หลักแห่งความคล้ายคลึง (Homophily) ทฤษฎีที่เติบโตจากภายใน (Home-grown or Indigenous Social Network Theories) หลุมโครงสร้าง (Structural holes) ทฤษฎีที่นำความคิดออกไปสู่เครือข่ายภายนอก (Exportation network ideas)