ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ศูนย์สารสนเทศ กรมป่าไม้. 1) การทำงานของระบบ 2) วิธีการใช้งานเบื้องต้น 3) การใช้งานระบบติดตามการบุกรุกทำลายป่า.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ขั้นตอนการใช้บริการต้องทำอย่างไร  สถานประกอบกิจการ ต้องดำเนินการตาม ขั้นตอนต่อไปนี้ ตรวจสอบข้อมูลสถานประกอบกิจการในระบบ ที่
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
1) จำนวนเงินใน Slip Carbon ไม่ตรงกับ ยอดเงินของโรงเรียน สาเหตุที่ยอดเงินใน Slip Carbon ไม่ตรง กับโรงเรียนเนื่องจาก  โรงเรียนชำระเงินสะสม 3% ที่ธนาคารไทย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
The Comptroller General's Department ล้างบัญชีพักงานระหว่างก่อสร้าง
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
TBCM Online.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
การอบรม ระบบหนังสือบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ eMemo ปี 2560 สำหรับ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
เงื่อนไขการสร้างเอกสารเลือกวันหยุด
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง โดย นพพร อุณาภาค

หัวข้อในการฝึกอบรม ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง การทำงานของหน้าจอระบบ แผนผังและโครงสร้างของระบบ ข้อควรทราบก่อนใช้งาน การทำงานของระบบงานทางละเมิด การทำงานของระบบงานทางแพ่ง การทำงานของระบบสัญญารับทุน/ลาศึกษา การทำงานของระบบฐานลูกหนี้

การทำงานของหน้าจอระบบ

การทำงานของหน้าจอระบบ กรอก ID และ Password แสดงข่าวสารประชาสัมพันธ์ กรณีที่ลืมรหัสผ่าน 3

การทำงานของหน้าจอระบบ (ต่อ) ไอคอนแยกตามระบบงาน แสดงจำนวนสำนวนตามระบบงาน ออกจากระบบงาน 3

การทำงานของหน้าจอระบบ (ต่อ) แสดงสถานะปัจจุบันของสำนวน แสดงวันที่สำนวนขาดอายุความ 3

การทำงานของหน้าจอระบบ (ต่อ) ระบุเงื่อนไขการค้นหา ตารางแสดงผลการค้นหา ปุ่มสร้างข้อมูลใหม่ 3

การทำงานของหน้าจอระบบ (ต่อ) 3

การทำงานของหน้าจอระบบ สาธิตการทำงาน 3

แผนผังและโครงสร้างของระบบ

แผนผังและโครงสร้างของระบบ 3

ข้อควรทราบก่อนใช้งาน

ข้อควรทราบก่อนใช้งาน ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งาน มีได้ไม่จำกัดบนระบบ แสดงสายบังคับบัญชาของผู้ใช้งานในรูปแบบโครงสร้างต้นไม้ (Tree Structure) หัวหน้าสามารถเห็นสำนวน/คดีของผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งหมด หัวหน้าเป็นผู้อนุมัติข้อมูลที่ผู้ใต้บังคับบัญชาส่งตรวจสอบ สามารถปรับย้ายโครงสร้างผู้ใช้งานได้ ชื่อผู้ใช้งาน (Username) ใช้อีเมลล์ในการเข้าสู่ระบบ และไม่สามารถซ้ำกันได้ รหัสผ่าน มีความยาว 8 – 20 ตัวอักษร และต้องประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือ อักขระพิเศษ และตัวเลขเท่านั้น ผู้ใช้งาน 1 คนสามารถอยู่ภายใต้กลุ่มสิทธิ์ได้มากกว่า 1 กลุ่ม โดยสิทธิ์ที่ได้รับจะเท่ากับสิทธิ์ของ แต่ละกลุ่มรวมกัน ผู้ใช้งานจะสามารถเข้าถึงข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองสังกัดอยู่ แต่สามารถกำหนดให้เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงานอื่นๆ เพิ่มเติมได้ ผู้ใช้งานสามารถถูกระงับใช้งานได้ 3

ข้อมูลผู้ใช้งาน ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านเองได้ กรณีที่จำรหัสผ่านเดิมได้ ผู้ดูแลระบบสามารถ Reset รหัสผ่านให้กับผู้ใช้งานได้ กรณีที่ผู้ใช้งานจำรหัสผ่านไม่ได้ ผู้ดูแลระบบสามารถสร้างรหัสผ่านให้กับผู้ใช้งาน และส่งไปยังอีเมลล์ตามที่กำหนดได้อัตโนมัติ ประเภทผู้ใช้งาน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ กลพ. และ เจ้าหน้าที่หน่วยงาน ผู้ดูแลระบบสามารถกู้คืนข้อมูลผู้ใช้งานที่ถูกลบไปแล้วได้ ระบบมีการกำหนดค่า Session Time Out ไว้เป็นจำนวน 30 นาที 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน คำอธิบาย งานทางละเมิด / งานทางแพ่ง / งานลาศึกษา / ฐานข้อมูลลูกหนี้ เปิดใช้งาน เข้าหน้าจอค้นหางานทางละเมิด / งานทางแพ่ง / งานลา ศึกษา / ฐานข้อมูลลูกหนี้ ได้ แต่จะค้นหาข้อมูลได้ตามสิทธิ์ ที่ตนเองได้รับ สร้าง สามารถสร้างสำนวน/คดีของแต่ละระบบงานได้ ลบ สามารถลบสำนวน/คดีของแต่ละระบบงานได้ หัวหน้างาน สามารถค้นหาสำนวน/คดีของแต่ละระบบงานได้ทั้งหมด ตาม หน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ และแก้ไขข้อมูลในสถานะ “ยืนยัน ข้อมูล” ได้ 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน ชื่อกลุ่มสิทธิ์ คำอธิบาย 1 ผู้ดูแลระบบหน่วยงาน สำหรับจัดการข้อมูลผู้ใช้งานภายในหน่วยงานตนเอง และหน่วยงานในสังกัดของตนเอง 2 ตรวจสอบภายใน (หน่วยงาน) สำหรับเรียกดูรายงานสถิติความเสียหาย และจำนวนสำนวน/เรื่องที่บันทึกของแต่ละระบบย่อย 3 ผู้ใช้งานระบบละเมิด บันทึกข้อมูลของงานทางละเมิด ในระดับผู้ปฏิบัติงาน โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และสร้างสำนวนทางละเมิด 4 ผู้ใช้งานระบบแพ่ง บันทึกข้อมูลของงานทางแพ่ง ในระดับผู้ปฏิบัติงาน โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และสร้างสำนวนทางแพ่ง 5 ผู้ใช้งานระบบลาศึกษา บันทึกข้อมูลของระบบสัญญารับทุนและลาศึกษา ในระดับผู้ปฏิบัติงาน โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และสร้างข้อมูลสัญญารับทุนและลาศึกษา 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน ชื่อกลุ่มสิทธิ์ คำอธิบาย 6 ผู้ใช้งานระบบฐานลูกหนี้ บันทึกข้อมูลของระบบฐานข้อมูลลูกหนี้ ในระดับผู้ปฏิบัติงาน โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา และตั้งหนี้ 7 หัวหน้าระบบละเมิด (สำหรับหน่วยงาน) กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา สร้างสำนวนทางละเมิด แก้ไขข้อมูล และลบสำนวน 8 หัวหน้าระบบแพ่ง (สำหรับหน่วยงาน) กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา สร้างสำนวนทางแพ่ง แก้ไขข้อมูล และลบสำนวน 9 หัวหน้าระบบลาศึกษา (สำหรับหน่วยงาน) กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา บันทึกสัญญา แก้ไขข้อมูล และลบสัญญา 10 หัวหน้าระบบฐานลูกหนี้ (สำหรับหน่วยงาน) กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้าฝ่าย โดยมีสิทธิ์ในการค้นหา ตั้งหนี้ แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูลหนี้ 3

ข้อมูลสิทธิ์การใช้งาน ชื่อกลุ่มสิทธิ์ คำอธิบาย 11 หัวหน้างานระบบละเมิด กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการค้นหาทุกสำนวนทางละเมิดในหน่วยงาน สร้างสำนวน แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูล 12 หัวหน้างานระบบแพ่ง กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการค้นหาทุกสำนวนทางแพ่งในหน่วยงาน สร้างสำนวน แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูล 13 หัวหน้างานระบบลาศึกษา กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการค้นหาทุกสัญญาในหน่วยงาน บันทึกสัญญา แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูล 14 หัวหน้างานระบบฐานลูกหนี้ กลุ่มสิทธิ์สำหรับผู้ใช้งานระดับหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากอง อธิบดี โดยมีสิทธิ์ในการค้นหาลูกหนี้ทุกรายในหน่วยงาน ตั้งหนี้ แก้ไขข้อมูล และลบข้อมูล 3

URL สำหรับใช้งานระบบ URL : http://tcls.cgd.go.th (ใช้งาน) URL : http://tclstraining.cgd.go.th (ฝึกอบรม/ลองใช้งาน)

เมนูสรุปรายละเอียดทุกระบบงาน

เมนูสรุปรายละเอียด ข้อมูลที่ควรทราบ แท็บ “ข้อมูลเบื้องต้น” แสดงรายละเอียดเบื้องต้นของสำนวน เช่น เลขที่สำนวน ชื่อเรื่อง หน่วยงาน ขั้นตอนล่าสุด แสดงแผนภาพขั้นตอนการทำงาน ขั้นตอนล่าสุด ขั้นตอนถัดไป แท็บ “ข้อมูลคู่กรณี” แสดงรายชื่อคู่ความ/คู่กรณีทั้งหมดที่บันทึกไว้ในแต่ละขั้นตอนของสำนวน หากแก้ไขข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ในขั้นตอนใดก็ตามจะส่งผลกับทั้งสำนวน หากลบข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ในแต่ละขั้นตอน จะไม่ลบออกจากแท็บคู่ความ/คู่กรณี หากข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีใดไม่ได้มีการใช้งานในแต่ละขั้นตอน จะสามารถลบออกจากแท็บคู่ความ/คู่กรณีได้ แท็บ “ข้อมูลฐานลูกหนี้” แสดงรายการหนี้ที่สร้างโดยอ้างอิงสำนวนนี้ 3

เมนูประวัติดำเนินการ ข้อมูลที่ควรทราบ แสดงประวัติการดำเนินการ หรือเปลี่ยนสถานะของสำนวน ดังนี้ บันทึกข้อมูล บันทึกร่าง ส่งตรวจสอบ ยืนยัน/ปฏิเสธข้อมูล แสดงรายละเอียดของผู้ที่ดำเนินการ หรือเปลี่ยนสถานะของสำนวน เรียงลำดับการเปลี่ยนสถานะของสำนวน จากเก่าไปล่าสุด 3

เมนูสิทธิ์การเข้าถึง ข้อมูลที่ควรทราบ สิทธิ์การเข้าถึง แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนราชการ และส่วนกองละเมิดและแพ่ง ผู้สร้างสำนวน จะมีสิทธิ์เข้าถึงในส่วนราชการ และได้รับสิทธิ์เป็น “ดูและแก้ไข” อัตโนมัติ หัวหน้าของผู้สร้างสำนวน จะสามารถเข้าถึงสำนวนหรือตรวจสอบข้อมูลที่ผู้ใต้บังคับส่งตรวจสอบได้ แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ ผู้ที่มีสิทธิ์เป็น “ดูและแก้ไข” จะสามารถแก้ไขรายละเอียดของสำนวนได้เหมือนกับเจ้าของสำนวน ผู้ที่มีชื่ออยู่ในสำนวน และมีสิทธิ์เป็น “ดูและแก้ไข” สามารถเพิ่มรายชื่อผู้เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มชื่อให้กับผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงานนั้นได้เท่านั้น เจ้าหน้าที่หน่วยงาน สามารถจัดการสิทธิ์การเข้าถึงได้แค่ส่วนราชการเท่านั้น หลังจากมอบหมายงาน กลพ. แล้ว ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ตรวจสอบ จะมีสิทธิ์เข้าถึงในส่วนกองละเมิดและแพ่ง และได้รับสิทธิ์เป็น “ดูและแก้ไข” อัตโนมัติ หลังจากเพิ่มรายชื่อแล้ว จะมีการแจ้งเตือนไปยังผู้ที่ถูกเพิ่มชื่อว่าได้รับสิทธิ์ให้เข้าถึงสำนวนใหม่ 3

เมนูติดตามงาน ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้สร้างข้อความใหม่ คือ หัวหน้าระบบละเมิด แพ่ง ลาศึกษา และฐานลูกหนี้ ผู้ที่อยู่ในสำนวนทั้งหมด และมีสิทธิ์ “ดูและแก้ไข” สามารถตอบกลับข้อความของ กลพ. ได้ เมื่อมีการบันทึกข้อมูลการติดตามงานครั้งแรก จะมีการแจ้งเตือนไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวนทั้งหมด ว่ามีการติดตามงาน เมื่อมีการโต้ตอบการติดตามงาน จะแจ้งเตือนไปเฉพาะผู้ที่โต้ตอบกันเท่านั้น 3

แผนผังโครงสร้างและเมนูสรุปรายละเอียด สาธิตการทำงาน 3

การทำงานของระบบงานทางละเมิด

การทำงานระบบงานความรับผิดทางละเมิด   ระบบงาน ความรับผิดทาง ละเมิด เกิดความเสียหายทาง ละเมิด สิ้นสุดงานทางละเมิด สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น สอบข้อเท็จจริงความรับผิด ทางละเมิด วินิจฉัยสั่งการ ส่งสำนวนให้ กระทรวงการคลัง กระทรวงการคลังแจ้งผลการ พิจารณาสำนวน หน่วยงานต้นสังกัดออก คำสั่ง ดำเนินคดี 3

การทำงานระบบงานความรับผิดทางละเมิด (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งานระดับปฏิบัติการ สามารถเข้าถึงได้เฉพาะสำนวนที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น ผู้ใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถดูสำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถแก้ไขข้อมูลเมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” ได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถดูสำนวนของหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ทุกสำนวน ผู้ที่เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้สร้างหรือหัวหน้าให้เข้าถึงสำนวนได้ เอกสารแนบ รองรับไฟล์นามสกุล jpeg, jpg, gif, png, tiff, pdf, doc, docx, zip, rar, xls, xlsx, ptt, pttx, 7zip ขนาดไม่เกิน 100MB 3

ขั้นตอนบันทึกความเสียหาย ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “บันทึกความเสียหาย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถเพิ่มข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงเท่านั้น วันที่สำนวนขาดอายุความ จะคำนวณจาก “วันที่เกิดเหตุ + จำนวนปีของอายุความ – 1 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีสำนวนใหม่ หัวหน้า กลพ. > มีสำนวนใหม่ หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนไล่เบี้ย ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “การไล่เบี้ย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการไล่เบี้ยได้หลายครั้ง แต่วันที่เกิดเหตุต้องไม่ซ้ำกัน “วันที่สำนวนขาดอายุความ” คำนวณจาก “อายุความ + วันที่จ่ายเงินชดใช้ให้แทน -1 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนการสอบเบื้องต้น ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล ฟอร์ม “ผลการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น” 3

ขั้นตอนการสอบละเมิด ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงทางละเมิด” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกข้อมูลการสอบละเมิดได้หลายครั้ง แต่เลขที่คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการต้องไม่ซ้ำกัน หน่วยงานหลักและหน่วยงานร่วม ต้องไม่เป็นหน่วยงานเดียวกัน เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนการสอบละเมิด (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการสอบข้อเท็จจริงทางละเมิด” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล หากระบุความเห็นคณะกรรมการเป็น “มีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิด” จะต้องระบุข้อมูลผู้ต้องรับผิดตามผลการสอบละเมิดด้วย ผู้ต้องรับผิดตามผลการสอบละเมิด สามารถเลือกได้จากข้อมูลผู้เกี่ยวข้องที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนบันทึกความเสียหาย หรือจะเพิ่มผู้ต้องรับผิดตามผลการสอบละเมิดใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนวินิจฉัยสั่งการ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำวินิจฉัยสั่งการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถบันทึกคำวินิจฉัยสั่งการได้หลายครั้งต่อคณะกรรมการสอบละเมิด 1 ชุด โดยเลขที่คำสั่งต้องไม่ซ้ำกัน กรณีที่คณะกรรมการสอบละเมิด ประกอบด้วยหน่วยงานหลักและหน่วยงานร่วม จะต้องกรอกคำวินิจฉัยสั่งการของทุกหน่วยงาน “วันครบกำหนดวินิจฉัยสั่งการ” คำนวณจาก “วันที่วินิจฉัยสั่งการ + ครบกำหนดวินิจฉัย-1” หากระบุความเห็นคณะกรรมการเป็น “มีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิด” จะต้องระบุข้อมูลผู้ต้องรับผิดเพิ่มเติม ผู้ต้องรับผิดตามผลการสอบละเมิด สามารถเลือกได้จากข้อมูลผู้เกี่ยวข้องที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนสอบข้อเท็จจริงทางละเมิดเท่านั้น ไม่สามารถเพิ่มใหม่ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนส่งสำนวนให้กระทรวงการคลัง ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการส่งสำนวนให้กระทรวงการคลัง” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการส่งสำนวนได้หลายครั้ง แต่วันที่ส่งสำนวนต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 3

ขั้นตอนแจ้งผลการพิจารณา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “การแจ้งผลการพิจารณา” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” ในขั้นตอนส่งสำนวนให้กระทรวงการคลังเท่านั้น ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการแจ้งผลการพิจารณาได้หลายครั้ง แต่วันที่แจ้งผลการพิจารณาต้องไม่ซ้ำกัน กรณีระบุผลการพิจารณาเป็น “มีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิด” จะต้องระบุชื่อผู้ต้องรับผิดด้วย ผู้ต้องรับผิดสามารถเลือกได้จากข้อมูลผู้ต้องรับผิดที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนวินิจฉัยสั่งการเท่านั้น ไม่สามารถเพิ่มใหม่ได้ 3

ขั้นตอนแจ้งผลการพิจารณา (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “การแจ้งผลการพิจารณา” (ต่อ) เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนออกคำสั่ง ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ออกคำสั่ง” ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการออกคำสั่งได้หลายครั้ง ในการออกคำสั่งแต่ละครั้ง ต้องระบุผู้ต้องรับผิดเสมอ อย่างน้อย 1 คน ผู้ต้องรับผิดสามารถเลือกได้จากข้อมูลผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนก่อนหน้าทั้งหมด (บันทึกความเสียหาย, สอบละเมิด) แต่ไม่สามารถเพิ่มใหม่ได้ หากระบุผู้ต้องรับผิดหลายคนต่อสัดส่วนความรับผิดเดียวกัน หมายถึง รับผิดร่วมกัน ระบบคำนวณเงินที่ต้องรับผิด จาก “จำนวนเงินค่าเสียหาย*สัดส่วนความรับผิด/100” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนอุทธรณ์คำสั่ง ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “การอุทธรณ์คำสั่ง” สามารถบันทึกการอุทธรณ์คำสั่งได้หลายครั้ง ต่อ 1 คำสั่ง แต่ผู้ขออุทธรณ์ต้องไม่ซ้ำกัน ผู้ขออุทธรณ์จะแสดงเฉพาะรายชื่อผู้ต้องรับผิด ที่บันทึกไว้ในขั้นตอนออกคำสั่งเท่านั้น ฟิลด์ “อ้างอิงคำสั่งเลขที่” จะเปลี่ยนไปตามผู้ขออุทธรณ์ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการดำเนินคดีได้หลายครั้ง และหลายชั้นศาล แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน ประเภทศาล มีเฉพาะศาลปกครองเท่านั้น สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของคู่กรณีได้จาก ข้อมูลผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ต้องรับผิดที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนก่อนหน้า (บันทึกความเสียหาย, สอบละเมิด) หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เอกสารประกอบกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ฟอร์มนี้จะบันทึกหรือไม่บันทึกก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุผลของคำพิพากษาเป็น “อื่นๆ” ชื่อผู้ที่ได้รับการพิพากษาจะต้องเป็นคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกในฟอร์ม “ข้อมูลคดี” เท่านั้น วันครบกำหนดอุทธรณ์ คำนวณจาก “วันที่ศาลอ่านคำพิพากษา + 30 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนสิ้นสุดงานทางละเมิด ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดงานทางละเมิด” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > ปิดงาน หัวหน้า กลพ. > ปิดงาน หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

การทำงานของระบบงานทางละเมิด สาธิตการทำงาน 3

การทำงานของระบบงานทางแพ่ง

การทำงานระบบงานความรับผิดทางแพ่ง   ราชการชดใช้ ข้อพิพาทขั้นต้น พิจารณาข้อพิพาท ดำเนินคดีขั้น อนุญาโตตุลาการ พิจารณาชี้ขาด ระบบงาน ความรับผิดทาง แพ่ง สิ้นสุดงานลูกหนี้ ดำเนินคดี ชำระเงินครบถ้วน สิ้นสุดทางแพ่ง 3

การทำงานระบบงานความรับผิดทางแพ่ง (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งานระดับปฏิบัติการ สามารถเข้าถึงได้เฉพาะสำนวนที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น ผู้ใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถดูสำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถแก้ไขข้อมูลเมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” ได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถดูสำนวนของหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ทุกสำนวน ผู้ที่เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้สร้างหรือหัวหน้าให้เข้าถึงสำนวนได้ เอกสารแนบ รองรับไฟล์นามสกุล jpeg, jpg, gif, png, tiff, pdf, doc, docx, zip, rar, xls, xlsx, ptt, pttx, 7zip ขนาดไม่เกิน 100MB 3

ขั้นตอนข้อพิพาทขั้นต้น ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อพิพาทขั้นต้น” (ต่อ) หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถเพิ่มข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงเท่านั้น วันที่สำนวนขาดอายุความ จะคำนวณจาก “วันที่เกิดเหตุ + จำนวนปีของอายุความ – 1 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีสำนวนใหม่ หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 3

ขั้นตอนพิจารณาข้อพิพาท ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “พิจารณาข้อพิพาท” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล หากไม่ได้คลิกเลือก “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” ในขั้นข้อพิพาทขั้นต้น กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล หากคลิกเลือก “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” ในขั้นข้อพิพาทขั้นต้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลชั้นอนุญาโตตุลาการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกข้อมูลอนุญาโตตุลาการได้หลายครั้ง แต่วันที่ยื่นข้อพิพาทต้องไม่ซ้ำกัน สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของอนุญาโตตุลาการได้จาก ข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนข้อพิพาทขั้นต้น หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ผู้ต้องชดใช้ จะต้องเป็นหนึ่งในคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ที่ฟอร์ม “ข้อมูลชั้นอนุญาโตตุลาการ” เอกสารแนบกรณีที่ส่ง/ไม่ส่งกระทรวงการคลังพิจารณาจะแตกต่างกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 3

ขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนดำเนินคดี ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการดำเนินคดีได้หลายครั้ง และหลายชั้นศาล แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของคู่กรณีได้จาก ข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนข้อพิพาทขั้นต้น หรือขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ (กรณีเพิ่มข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีใหม่ในขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ) หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เอกสารประกอบกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ฟอร์มนี้จะบันทึกหรือไม่บันทึกก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ประนีประนอมยอมความ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 การดำเนินคดี สามารถบันทึกการประนีประนอมยอมความได้หลายครั้ง แต่วันที่บันทึกข้อมูลต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุผลของคำพิพากษาเป็น “อื่นๆ” ชื่อผู้ที่ได้รับการพิพากษาจะต้องเป็นคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกในฟอร์ม “ข้อมูลคดี” เท่านั้น วันครบกำหนดอุทธรณ์ คำนวณจาก “วันที่ศาลอ่านคำพิพากษา + 30 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนชดใช้ของส่วนราชการ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ชดใช้ของส่วนราชการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการชดใช้ของส่วนราชการได้หลายครั้ง เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 3

ขั้นตอนสิ้นสุดงานทางแพ่ง ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดงานทางแพ่ง” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > ปิดงาน หัวหน้า กลพ. > ปิดงาน หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 3

การทำงานของระบบงานทางแพ่ง สาธิตการทำงาน 3

การทำงานของระบบสัญญารับทุน/ลาศึกษา

การทำงานระบบงานผิดสัญญารับทุน/ลาศึกษา 3

การทำงานระบบงานผิดสัญญารับทุน/ลาศึกษา (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งานระดับปฏิบัติการ สามารถเข้าถึงได้เฉพาะสำนวนที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น ผู้ใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถดูสำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถแก้ไขข้อมูลเมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” ได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถดูสำนวนของหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ทุกสำนวน ผู้ที่เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้สร้างหรือหัวหน้าให้เข้าถึงสำนวนได้ เอกสารแนบ รองรับไฟล์นามสกุล jpeg, jpg, gif, png, tiff, pdf, doc, docx, zip, rar, xls, xlsx, ptt, pttx, 7zip ขนาดไม่เกิน 100MB 4

ขั้นตอนบันทึกผู้ทำสัญญา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลผู้ทำสัญญา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถเพิ่มข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงเท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 5

ขั้นตอนบันทึกสัญญา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลสัญญา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ผู้ทำสัญญา 1 ราย สามารถมีสัญญาได้มากกว่า 1 สัญญา สัญญามี 2 ประเภท ได้แก่ สัญญารับทุน และสัญญาลาศึกษา กรณีที่ผู้ทำสัญญามีการลาศึกษาและได้รับทุนในครั้งเดียวกัน ให้ระบุประเภทสัญญาเป็น “สัญญาลาศึกษา” การลาศึกษา ลาได้ 2 แบบ คือ ลาแบบต่อเนื่อง และ ลาโดยใช้เวลาราชการบางส่วน สัญญารับทุน สามารถกำหนดเงื่อนไขการนับเวลาชดใช้ได้ 2 แบบ ดังนี้  คำนวณวันตามจริง : คำนวณจากช่วงวันที่ได้รับทุนตามจริง  กำหนดเวลา : กำหนดระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติราชการชดใช้ไว้คงที่ โดยหากระบุเป็น “ปี” ระบบจะคำนวณโดยนับ 1 ปี = 365 วัน ใน 1 สัญญา สามารถมีผู้ค้ำประกันได้มากกว่า 1 ราย 6

ขั้นตอนบันทึกสัญญา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลสัญญา” (ต่อ) การคำนวณเงินเดือนที่ได้รับระหว่างลาศึกษา ให้รวมเงินเดือน เงิน พ.ช.ค. และเงินเพิ่มอื่นๆ ตามหลักเกณฑ์ดังนี้  กรณีลาเต็มเดือน ให้นำเงินที่ได้รับในแต่ละเดือนคูณจำนวนเดือน  กรณีลาไม่เต็มเดือน ให้นับเป็นวันตามความเป็นจริง เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล เงินเดือนที่ได้รับระหว่างลาศึกษา = (เงินเดือน + เงิน พ.ช.ค.+เงินเพิ่มอื่นๆ) x จำนวนเดือนที่ลา เงินเดือนที่ได้รับระหว่างลาศึกษา = (เงินเดือน + เงิน พ.ช.ค.+เงินเพิ่มอื่นๆ) x จำนวนวันที่ลา จำนวนวันทั้งหมดในเดือนนั้น 7

ขั้นตอนปฏิบัติราชการชดใช้ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “บันทึกข้อมูลการปฏิบัติราชการชดใช้” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงตารางสรุปการปฏิบัติราชการชดใช้ แยกตามสัญญา สามารถบันทึกการปฏิบัติราชการชดใช้ได้หลายช่วง แต่ต้องไม่อยู่ในช่วงระยะเวลาที่รับทุนหรือลาศึกษา หลังจากที่บันทึกวันที่ปฏิบัติราชการชดใช้แล้ว ระบบจะหักชดใช้ตามสัญญาฉบับแรกก่อน ส่วนที่เหลือจึงนำไปหักชดใช้ตามสัญญาที่เกิดขึ้นในลำดับต่อๆ ไป หลังจากบันทึกข้อมูลปฏิบัติราชการชดใช้แล้ว ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 8

ขั้นตอนเกิดการผิดสัญญา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เกิดการผิดสัญญา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล “ขาดอายุความวันที่” คำนวณจาก “วันที่ผิดสัญญา/ลาออก + อายุความฟ้องคดี -1วัน” ระบบจะแสดงตารางสรุประยะเวลาปฏิบัติราชการชดใช้คงเหลือ พร้อมทั้งจำนวนเงินที่ต้องชดใช้ แยกตามสัญญา จำนวนเงินที่ต้องชดใช้ ประกอบด้วย เงินเดือน เงินทุน เบี้ยปรับเงินเดือน และเบี้ยปรับเงินทุน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > เกิดการผิดสัญญา หัวหน้า กลพ. > เกิดการผิดสัญญา หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 9

ขั้นตอนเกิดการผิดสัญญา (ต่อ) สูตรการคำนวณเงินที่ต้องชดใช้ เงินเดือน (ที่ต้องชดใช้) = เงินเดือนที่ได้รับทั้งหมด x จำนวนวันชดใช้คงเหลือ ระยะเวลาที่ต้องชดใช้ เบี้ยปรับเงินเดือน = เงินเดือน (ที่ต้องชดใช้) x จำนวนเท่าของเบี้ยปรับเงินเดือน เงินทุน (ที่ต้องชดใช้) = เงินทุนที่ได้รับทั้งหมด x จำนวนวันชดใช้คงเหลือ ระยะเวลาที่ต้องชดใช้ เบี้ยปรับเงินทุน = เงินทุน (ที่ต้องชดใช้) x จำนวนเท่าของเบี้ยปรับเงินทุน 10

ขั้นตอนเกิดการผิดสัญญา (ต่อ) การเปลี่ยนแปลงสถานะ แก้ไขได้ (เฉพาะหัวหน้า) ยืนยันข้อมูล แก้ไขได้ บันทึกร่าง ส่งตรวจสอบ แก้ไขได้ ปฏิเสธข้อมูล 11

ขั้นตอนผ่อนผันรับราชการ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผ่อนผันรับราชการ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 ผู้ทำสัญญา สามารถบันทึกการผ่อนผันรับราชการได้หลายครั้ง แต่เลขที่สัญญาผ่อนผันต้องไม่ซ้ำกัน ระบบจะแสดงตารางสรุประยะเวลาปฏิบัติราชการชดใช้คงเหลือ พร้อมทั้งจำนวนเงินที่ต้องชดใช้ แยกตามสัญญา เมื่อมีการผ่อนผัน ระบบจะรวมจำนวนวันที่ต้องปฏิบัติราชการชดใช้คงเหลือ และจำนวนเงินที่ต้องชดใช้เป็นรายการเดียว เพื่อจัดทำเป็นสัญญาผ่อนผัน กรณีชดใช้เงินบางส่วน จะชดใช้ได้เฉพาะเงินเดือนเท่านั้น เมื่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานมีการบันทึกข้อมูลการผ่อนผันรับราชการ จะต้องส่งให้กระทรวง การคลังพิจารณาเสมอ 12

ขั้นตอนผ่อนผันรับราชการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผ่อนผันรับราชการ” (ต่อ) เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 13

ขั้นตอนผ่อนผันรับราชการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาผ่อนผันรับราชการ” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 14

ขั้นตอนผ่อนผันรับราชการ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “บันทึกวันที่ปฏิบัติราชการชดใช้ตามสัญญาผ่อนผัน” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถบันทึกการปฏิบัติราชการชดใช้ได้หลายช่วง หลังจากบันทึกข้อมูลปฏิบัติราชการชดใช้แล้ว ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 15

ขั้นตอนดำเนินคดี ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการดำเนินคดีได้หลายครั้ง และหลายชั้นศาล แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน ประเภทศาล มีเฉพาะศาลปกครองเท่านั้น สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของคู่กรณีได้จาก ข้อมูลผู้เกี่ยวข้องหรือผู้ต้องรับผิดที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนก่อนหน้า (บันทึกความเสียหาย, สอบละเมิด) หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 16

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เอกสารประกอบกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ฟอร์มนี้จะบันทึกหรือไม่บันทึกก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 17

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุผลของคำพิพากษาเป็น “อื่นๆ” ชื่อผู้ที่ได้รับการพิพากษาจะต้องเป็นคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกในฟอร์ม “ข้อมูลคดี” เท่านั้น วันครบกำหนดอุทธรณ์ คำนวณจาก “วันที่ศาลอ่านคำพิพากษา + 30 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 18

ขั้นตอนสิ้นสุดงานลาศึกษา ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดงานลาศึกษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุเหตุผลที่สิ้นสุดเป็น “ขอกลับเข้ารับราชการในหน่วยงานอื่น” เกิดเหตุการณ์ ดังนี้ คัดลอกสำนวนนี้ เพื่อให้หน่วยงานปลายทางที่ย้ายไปสามารถเรียกดูข้อมูลได้ แจ้งเตือนไปยังหัวหน้าหน่วยงานที่มีสิทธิ์เข้าใช้งานระบบงานลาศึกษา แจ้งเตือนไปยังหัวหน้างาน กลพ. ที่มีสิทธิ์เข้าใช้งานระบบงานลาศึกษา กรณีระบุเหตุผลที่สิ้นสุดเป็น “ส่งไประบบละเมิด” จะสามารถเลือกสำนวนนี้ได้ในขั้นตอนบันทึกความเสียหายของระบบงานทางละเมิด 19

ขั้นตอนสิ้นสุดงานลาศึกษา (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดงานลาศึกษา” (ต่อ) เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > ปิดงาน หัวหน้า กลพ. > ปิดงาน หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 20

การทำงานของระบบสัญญารับทุน/ลาศึกษา สาธิตการทำงาน 3

การทำงานของระบบฐานลูกหนี้

การทำงานระบบงานฐานข้อมูลลูกหนี้ 3

การทำงานระบบงานฐานข้อมูลลูกหนี้ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ผู้ใช้งานระดับปฏิบัติการ สามารถเข้าถึงได้เฉพาะสำนวนที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น ผู้ใช้งานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้เมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถดูสำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ หัวหน้าของผู้ใช้งาน สามารถแก้ไขข้อมูลเมื่อสถานะของข้อมูลเป็น “ยืนยันข้อมูล” ได้ ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน” สามารถดูสำนวนของหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์ได้ทุกสำนวน ผู้ที่เข้าถึงสำนวนได้ สามารถเพิ่มผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้สร้างหรือหัวหน้าให้เข้าถึงสำนวนได้ เอกสารแนบ รองรับไฟล์นามสกุล jpeg, jpg, gif, png, tiff, pdf, doc, docx, zip, rar, xls, xlsx, ptt, pttx, 7zip ขนาดไม่เกิน 100MB 4

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ตั้งยอดหนี้” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถเพิ่มข้อมูลได้เฉพาะหน่วยงานที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงเท่านั้น “วันที่ขาดอายุความ” คำนวณจาก “วันที่เกิดหนี้ + อายุความ/ระยะเวลาบังคับคดี – 1วัน” สามารถตั้งหนี้ลอยโดยไม่ต้องอ้างอิงจากสำนวนที่มีในระบบได้ (สำหรับข้อมูลลูกหนี้เดิม) สามารถตั้งหนี้โดยอ้างอิงจากข้อมูลที่มาจากระบบงานทางละเมิด งานทางแพ่ง และงานลาศึกษาได้ โดยจะดึงข้อมูลผู้เกี่ยวข้องของสำนวนนั้นมาให้อัตโนมัติ กรณีเป็นลูกหนี้ร่วม ให้ตั้งหนี้ก้อนเดียวแล้วระบุลูกหนี้ทั้งหมดที่ต้องรับผิดชอบหนี้ก้อนนั้น การคิดดอกเบี้ยจะคิดจากเงินต้นเท่านั้น ไม่สามารถคิดดอกเบี้ยจากค่าใช้จ่ายอื่นๆ ได้ การชำระเงินบางส่วน  ต้องชำระค่าใช้จ่ายอื่นๆ ให้หมดก่อน จึงจะสามารถชำระเงินต้นได้  หนี้สกุลเงินใดต้องชำระคืนเป็นสกุลเงินนั้น 5

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ตั้งยอดหนี้” (ต่อ) “เงินต้น” เท่านั้นที่สามารถผ่อนชำระได้ ประเภทการผ่อนชำระ  แบบคงที่ : จ่ายเท่ากันทุกงวดตามจำนวนเงินที่ต้องการ  แบบลำดับขั้น : ระบุจำนวนเงินที่ต้องการชำระในแต่ละงวด  ตามเงื่อนไขเงินเดือน : ระบุร้อยละของเงินเดือนที่ต้องการชำระในแต่ละงวด  กำหนดระยะเวลา : ระบุจำนวนงวดที่ต้องการชำระ ยอดชำระที่จ่ายในแต่ละงวด จะหักดอกเบี้ยก่อนจึงจะหักเงินต้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล 6

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ตั้งยอดหนี้” (ต่อ) หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีหนี้ใหม่ หัวหน้า กลพ. > มีหนี้ใหม่ หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” แทนการแจ้งเตือน มีหนี้ใหม่ 7

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ (ต่อ) สูตรคำนวณตารางผ่อนชำระ หักดอกเบี้ยคงค้าง = เงินต้น x อัตราดอกเบี้ยต่อปี x จำนวนวันที่คิดดอกเบี้ย จำนวนวันใน 1 ปี หักเงินต้น = ยอดชำระ - หักดอกเบี้ยคงค้าง เงินต้นค้าง = เงินต้น - หักเงินต้น 8

ขั้นตอนตั้งยอดหนี้ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 9

ขั้นตอนบันทึกการชำระเงิน ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “บันทึกการชำระเงิน” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ชำระได้เฉพาะหนี้ที่เป็นเงินต้นเท่านั้น หากต้องการชำระเงินค่าใช้จ่ายอื่นๆ จะบันทึกที่ ขั้นตอน “ตั้งยอดหนี้” หนี้สกุลเงินใดต้องชำระคืนเป็นสกุลเงินนั้น หากสกุลเงินที่ชำระไม่ตรงกับสกุลเงินของหนี้ จะต้องระบุอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อให้ระบบคำนวณเป็นสกุลเงินของหนี้ให้ ยอดชำระที่จ่ายในแต่ละงวด จะหักดอกเบี้ยก่อนจึงจะหักเงินต้น เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 10

ขั้นตอนดำเนินคดี ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลคดี” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการดำเนินคดีได้หลายครั้ง และหลายชั้นศาล แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน สามารถเลือกคู่ความ/คู่กรณีของคู่กรณีได้จาก ข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกไว้ที่ขั้นตอนข้อพิพาทขั้นต้น หรือขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ (กรณีเพิ่มข้อมูลคู่ความ/คู่กรณีใหม่ในขั้นตอนอนุญาโตตุลาการ) หรือจะเพิ่มคู่ความ/คู่กรณีใหม่ก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 11

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “เอกสารประกอบกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ฟอร์มนี้จะบันทึกหรือไม่บันทึกก็ได้ เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 12

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ประนีประนอมยอมความ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 การดำเนินคดี สามารถบันทึกการประนีประนอมยอมความได้หลายครั้ง แต่วันที่บันทึกข้อมูลต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 13

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 14

ขั้นตอนดำเนินคดี (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุผลของคำพิพากษาเป็น “อื่นๆ” ชื่อผู้ที่ได้รับการพิพากษาจะต้องเป็นคู่ความ/คู่กรณีที่บันทึกในฟอร์ม “ข้อมูลคดี” เท่านั้น วันครบกำหนดอุทธรณ์ คำนวณจาก “วันที่ศาลอ่านคำพิพากษา + 30 วัน” เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 15

ขั้นตอนบังคับคดีกับทรัพย์ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการสืบทรัพย์” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 หนี้ สามารถบันทึกการสืบทรัพย์ได้หลายครั้ง กรณีระบุผลการติดตามเป็น “พบทรัพย์สิน” จะต้องระบุรายการทรัพย์สินที่พบด้วย เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล ฟอร์ม “ข้อมูลการยึด/อายัดทรัพย์” ใน 1 หนี้ สามารถบันทึกการยึด/อายัดทรัพย์ได้หลายครั้ง รายการทรัพย์สินที่ยึด/อายัด สามารถเลือกได้จากรายการทรัพย์สินที่สืบทรัพย์พบเท่านั้น ไม่ สามารถเพิ่มใหม่ได้ 16

ขั้นตอนบังคับคดีกับทรัพย์ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการประกาศขายทอดตลาด” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล สามารถบันทึกการประกาศขายทอดตลาดได้หลายครั้ง เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล ฟอร์ม “ข้อมูลการขายทอดตลาด” สามารถบันทึกการขายทอดตลาดได้หลายครั้ง รายการทรัพย์สินที่ขายทอดตลาด สามารถเลือกได้จากรายการทรัพย์สินที่ยึด/อายัดได้เท่านั้น ไม่สามารถเพิ่มใหม่ได้ 17

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการฟ้องคดีล้มละลาย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการฟ้องคดีล้มละลายได้หลายครั้ง แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล ฟอร์ม “ข้อมูลการพิทักษ์ทรัพย์” ใน 1 คดี สามารถบันทึกข้อมูลการพิทักษ์ทรัพย์ได้หลายครั้ง 18

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ข้อมูลการจัดการทรัพย์สิน” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 สำนวน สามารถบันทึกการจัดการทรัพย์สินได้หลายครั้ง แต่หมายเลขคดีดำต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 19

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 การดำเนินคดี สามารถบันทึกการประนอมหนี้ก่อนล้มละลายได้หลายครั้ง แต่วันที่บันทึกข้อมูลต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 20

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 21

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “คำพิพากษา” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “บันทึก” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้องกับสำนวนทุกคนในสำนวน ว่ามีการปรับปรุงข้อมูล 22

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ประนอมหนี้หลังล้มละลาย” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ใน 1 การดำเนินคดี สามารถบันทึกการประนอมหนี้หลังล้มละลายได้หลายครั้ง แต่วันที่บันทึกข้อมูลต้องไม่ซ้ำกัน เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หากระบุเป็น “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 23

ขั้นตอนฟ้องล้มละลาย (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล ระบบจะแสดงฟอร์มนี้ เมื่อหน่วยงานมีการระบุว่า “ส่งกระทรวงการคลังพิจารณา” เท่านั้น เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 24

ขั้นตอนตัดหนี้สูญ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ขั้นตอนตัดหนี้สูญ” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล ขั้นตอนนี้จะต้องส่งให้กระทรวงการคลังพิจารณาเสมอ เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ หลังจากที่หัวหน้าของหน่วยงานยืนยันข้อมูลแล้ว จะเกิดการสร้างงาน กลพ. และแจ้งเตือนมีงาน กลพ.ใหม่ ไปยังผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น “หัวหน้างาน กลพ.” 25

ขั้นตอนตัดหนี้สูญ (ต่อ) ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “ผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง” กลพ. เป็นผู้บันทึกข้อมูล เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > มีการปรับปรุงข้อมูล หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 26

ขั้นตอนสิ้นสุดข้อมูลลูกหนี้ ข้อมูลที่ควรทราบ ฟอร์ม “สิ้นสุดข้อมูลลูกหนี้” หน่วยงานเป็นผู้บันทึกข้อมูล กรณีระบุเหตุผลที่สิ้นสุดเป็น “แปลงหนี้ใหม่” เกิดเหตุการณ์ ดังนี้  สรุปจำนวนหนี้คงเหลือ พร้อมดอกเบี้ยการผ่อนชำระ ณ วันที่สิ้นสุดหนี้  สามารถสร้างหนี้ใหม่ จากหนี้คงเหลือ ณ ปัจจุบันได้ เมื่อคลิกปุ่ม “ส่งตรวจสอบ” ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังหัวหน้าตามสายบังคับบัญชาเพื่อให้ตรวจสอบข้อมูล หากหัวหน้ายืนยันการตรวจสอบข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนดังนี้ ผู้ส่งตรวจสอบ > ตรวจสอบข้อมูลแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสำนวน > ปิดงาน หัวหน้า กลพ. > ปิดงาน หากหัวหน้าปฏิเสธข้อมูล ระบบจะส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้ส่งตรวจสอบว่าข้อมูลถูกปฏิเสธ 27

การทำงานของระบบฐานลูกหนี้ สาธิตการทำงาน 3

นพพร อุณาภาค โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๐๑ - ๒ ID LINE : paw1113