ข้อมูล เอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ในการประเมิน เป้าประสงค์ที่ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูล เอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ในการประเมิน เป้าประสงค์ที่ 1 ศูนย์ประสานงานโครงการกาฬสินธุ์ คนดี สุขภาพดี รายได้ดี

สถานการณ์การ แจ้งโอนเงิน สปสช. 49,210,117.00 บาท กองทุนทั้งหมด 150 กองทุน แจ้งโอนรอบ 1 จำนวน 111 กองทุน ร้อยละ 74 แจ้งโอนรอบ 2 จำนวน 23 กองทุน รวม 134 ร้อยละ 89.3 แจ้งโอนรอบ 3 จำนวน 8 กองทุน รวม 142 ร้อยละ 94.67 แจ้งโอนรอบ 6 จำนวน 7 กองทุน รวม 149 ร้อยละ 99.31 แจ้งโอนรอบ 8 จำนวน 1 กองทุน รวม 150 ร้อยละ 100

(ร่างแนวทาง) แผนที่ยุทธศาสตร์กองทุนสุขภาพ ตำบล.............ปี ๒๕๕๗-๒๕๖๐ สำหรับ กองทุน....................................................................................... Goal ชุมชน........................จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นต้นแบบชุมชนแห่งความสุข ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแล ตามเกณฑ์ 1.ดูแลกลุ่มแม่และเด็ก 2.ดูแลกลุ่มวัยเรียน 3.ดูแลกลุ่มวัยรุ่น 4.ดูแลกลุ่มวัยแรงงาน 5.ดูแลกลุ่มผู้สูงอายุ/พิการ ชุมชนมีกติกาสังคม ในการดูแลสุขภาพ 1.พัฒนาวาระตำบล 2.เร่งรัดชุมชนปลอดเหล้า 3.เร่งรัดชุมชนปลอดสารเคมี 4.ยกระดับถนนสายบุญ ชุมชน มีน้ำใจไม่ทิ้งกัน ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง และดูแลสุขภาพ 1.จัดการโรคที่เป็นปัญหาร่วมจังหวัด (เบาหวาน) 2.จัดการโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ ๓ โรค ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 1.สร้างชุมชนสีเขียว 2.สนับสนุนการดำเนินงานสุขศาลา 3.ส่งเสริมสมุนไพร ภูมิปัญญาชุมชน 4.พัฒนาหน้าบ้าน น่ามอง ประชาชน อปท.สนับสนุนการดำเนินงานและงบประมาณ ทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอสนับสนุนวิชาการและประเมินผล กรรมการกองทุนสุขภาพ มีส่วนรวมในการบริหารจัดการกองทุน คณะทำงาน ๓ ดี บูรณาการงาน และงบประมาณ ภาคีเครือข่าย ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ มีประสิทธิภาพ ถึงกลุ่มเป้าหมาย 1.พัฒนาช่องทางสื่อสารทุกรูปแบบ 2.สื่อสารแผนยุทธ์ ๓ ปี จัดทำแผนคุณภาพบูรณาการแบบมีส่วนร่วม 1.บูรณาการแผนแบบมีส่วนร่วม 2. ยกระดับการพิจารณาแผน และเชื่อมโยงสู่ระบบบริหาร การบริหารจัดการกองทุน ที่มีประสิทธิภาพ ธรรมาภิบาล 1.ยกระดับการบริหารจัดการกองทุน 2.พัฒนาระบบการรายงานผล การประเมินผลกองทุน ที่มีประสิทธิภาพ 1.ยกระดับการประเมินผล 2. กระบวนการ โครงสร้าง วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอ เอื้ต่อการดำเนินงาน 1.พัฒนา ปรับปรุงโครงสร้าง 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ คณะกรรมการ อนุกรรมการกองทุนมีศักยภาพสูง และมีขวัญกำลังใจ 1.ศึกษาดูงานกองทุน ชุมชนต้นแบบ 2.ประชุม อบรมกรรมการ 3.เชิดชูกองทุน/พี่เลี้ยงดีเด่น ระบบข้อมูล สารสนเทศ มีประสิทธิภาพ 1.จัดเก็บ รวบรวมฐานข้อมูลชุมชน 2.พัฒนารูปแบบคืนข้อมูลชุมชน จัดกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ สู่นวตกรรมชุมชน 1.พัฒนานวตกรรมชุมชน 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.พัฒนาศูนย์เรียนรู้กองทุน พื้นฐาน

(ร่างแนวทาง) แผนที่ยุทธศาสตร์กองทุนสุขภาพ อำเภอ.............ปี ๒๕๕๗-๒๕๖๐ Goal ชุมชน........................จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นต้นแบบชุมชนแห่งความสุข ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแล ตามเกณฑ์ 1.ดูแลกลุ่มแม่และเด็ก 2.ดูแลกลุ่มวัยเรียน 3.ดูแลกลุ่มวัยรุ่น 4.ดูแลกลุ่มวัยแรงงาน 5.ดูแลกลุ่มผู้สูงอายุ/พิการ ชุมชนมีกติกาสังคม ในการดูแลสุขภาพ 1.พัฒนาวาระตำบล 2.เร่งรัดชุมชนปลอดเหล้า 3.เร่งรัดชุมชนปลอดสารเคมี 4.ยกระดับถนนสายบุญ ชุมชน มีน้ำใจไม่ทิ้งกัน ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง และดูแลสุขภาพ 1.จัดการโรคที่เป็นปัญหาร่วมจังหวัด (เบาหวาน) 2.จัดการโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ ๓ โรค ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 1.สร้างชุมชนสีเขียว 2.สนับสนุนการดำเนินงานสุขศาลา 3.ส่งเสริมสมุนไพร ภูมิปัญญาชุมชน 4.พัฒนาหน้าบ้าน น่ามอง ประชาชน อปท.สนับสนุนการดำเนินงานและงบประมาณ ทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอสนับสนุนวิชาการและประเมินผล กรรมการกองทุนสุขภาพ มีส่วนรวมในการบริหารจัดการกองทุน คณะทำงาน ๓ ดี บูรณาการงาน และงบประมาณ ภาคีเครือข่าย ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ มีประสิทธิภาพ ถึงกลุ่มเป้าหมาย 1.พัฒนาช่องทางสื่อสารทุกรูปแบบ 2.สื่อสารแผนยุทธ์ ๓ ปี จัดทำแผนคุณภาพบูรณาการแบบมีส่วนร่วม 1.บูรณาการแผนแบบมีส่วนร่วม 2. ยกระดับการพิจารณาแผน และเชื่อมโยงสู่ระบบบริหาร การบริหารจัดการกองทุน ที่มีประสิทธิภาพ ธรรมาภิบาล 1.ยกระดับการบริหารจัดการกองทุน 2.พัฒนาระบบการรายงานผล การประเมินผลกองทุน ที่มีประสิทธิภาพ 1.ยกระดับการประเมินผล 2. กระบวนการ โครงสร้าง วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอ เอื้ต่อการดำเนินงาน 1.พัฒนา ปรับปรุงโครงสร้าง 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ คณะกรรมการ อนุกรรมการกองทุนมีศักยภาพสูง และมีขวัญกำลังใจ 1.ศึกษาดูงานกองทุน ชุมชนต้นแบบ 2.ประชุม อบรมกรรมการ 3.เชิดชูกองทุน/พี่เลี้ยงดีเด่น ระบบข้อมูล สารสนเทศ มีประสิทธิภาพ 1.จัดเก็บ รวบรวมฐานข้อมูลชุมชน 2.พัฒนารูปแบบคืนข้อมูลชุมชน จัดกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ สู่นวตกรรมชุมชน 1.พัฒนานวตกรรมชุมชน 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.พัฒนาศูนย์เรียนรู้กองทุน พื้นฐาน

สถานการณ์การประเมินผลกองทุนประเมินโดยเจ้าหน้าที่กองทุน ลำดับที่ อำเภอ แห่ง เกรด A+ เกรด A เกรด B เกรด C บันทึกแล้ว 1 เมืองกาฬสินธุ์ 17 7 9 2 นามน 6 4 3 กมลาไสย 10 5 ร่องคำ กุฉินารายณ์ 14 8 เขาวง ยางตลาด 11 ห้วยเม็ก สหัสขันธ์ คำม่วง ท่าคันโท 12 หนองกุงศรี 9 ขาด 1เสาเล้า 13 สมเด็จ ห้วยผึ้ง 15 สามชัย 16 นาคู ดอนจาน 18 ฆ้องชัย 150 57 83 149

สถานการณ์การประเมินผลกองทุนประเมินโดยระดับอำเภอ ลำดับที่ อำเภอ แห่ง เกรด A+ เกรด A เกรด B เกรด C บันทึกแล้ว 1 เมืองกาฬสินธุ์ 17 11 5 2 นามน 6 4 3 กมลาไสย 10 ร่องคำ กุฉินารายณ์ 14 8 เขาวง 7 ยางตลาด ห้วยเม็ก 9 สหัสขันธ์ คำม่วง ท่าคันโท 12 หนองกุงศรี 8 ขาด2 13 สมเด็จ ห้วยผึ้ง 15 สามชัย 0 ขาด4 16 นาคู ดอนจาน 18 ฆ้องชัย รวม 61 78 144 1. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองช้าง 2. องค์การบริหารส่วนตำบลสำราญใต้ 3. องค์การบริหารส่วนตำบลสำราญ 4. องค์การบริหารส่วนตำบลคำสร้างเที่ยง 5. องค์การบริหารส่วนตำบลเสาเล้า 6. องค์การบริหารส่วนตำบลโคกเครือ

รวบรวม จัดทำฐานข้อมูล แผนบูรณาการ หน้า 67 รวบรวม จัดทำฐานข้อมูล แผนบูรณาการ หน้า 67 แบบสรุปโครงการ และรายจ่ายงบประมาณ โครงการคนดีสุขภาพดี รายได้ดี ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...................................ตำบล...................อำเภอ................จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่ ชื่อโครงการ กิจกกรรม ตอบสนอง จำนวนงบประมาณ ตามแหล่งงบประมาณ(บาท) หมวดคนดี หมวดสุขภาพดี หมวดรายได้ดี จังหวัด อปท. กองทุนสุขภาพ อื่นๆ(ระบุ) รวม

2. รายงานความก้าวหน้า ประจำเดือน (หน้า 68-73) รายงานประจำเดือน โครงการกาฬสินธุ์คนดี สุขภาพดี รายได้ดี ระดับตำบล ชื่อ อปท..................ตำบล..................................อำเภอ.............................จังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 กิจกรรม หน่วย ผลงาน หน่วยงาน   สะสมจากต้นปี เดือนนี้ รวม ร้อยละ รับผิดชอบ 1.จำนวนตำบลทั้งหมด ตำบล สาธารณสุข 2.จำนวน อปท.ทั้งหมด อปท. 3.จำนวนหมู่บ้านทั้งหมด หมู่ ศูนย์ฯตำบล สรุปส่งศูนย์อำเภอ ภายใน 18 ทุกเดือน ศูนย์ฯ อำเภอ สรุปส่งศูนย์จังหวัด ภายใน 20 ทุกเดือน

ฝึกประเมินวันนี้ ไปประเมินจริง วันที่ 2-3 ภาคชุมชน ชุดที่ 3 ประเมินครัวเรือน 3 ดี ชุมชนต้นแบบ อปท.ละ 1 หมู่ (หน้า 75) แบบประเมิน ครัวเรือน 3 ดี บ้านเลขที่.........บ้าน/ชุมชน................หมู่ที่/ชุมชน……ตำบล................อำเภอ.......................... จังหวัดกาฬสินธุ์ หัวหน้าครัวเรือน...................................................................................................................... หมวดคนดี ผลประเมิน หมวดสุขภาพดี หมวดรายได้ดี ผ่าน ไม่ผ่าน 1.1 คนในครัวเรือน ร่วมกิจกรรมทางศาสนา ปฏิบัติธรรม ฟังธรรมอย่างสม่ำเสมอ หรือร่วมถนนสายบุญ 2.1 คนในครัวเรือน ร่วมกิจกรรมการป้องกัน แก้ไขโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง วัณโรค ของชุมชน 3.1 ครัวเรือนปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ไว้เป็นอาหารพอเพียงตลอดปี เช่นสวนครัว หลุมพอเพียง เลี้ยงปลา กบ จิ้งหรีด 1.2 มีคนในครัวเรือน ได้รับการเชิดชูคนทำดี ด้านใด ด้านหนึ่ง จากชุมชน ตำบล หรือหน่วยงานอื่นๆ 2.2 ครัวเรือน ไม่ใช้สารฆ่าหญ้า หรือสารเคมีปราบศัตรูพืช ในการเกษตร 3.2 ครัวเรือนมีการลดการใช้พลังงาน ใช้พลังงานทดแทน เช่นถ่าน ฟืน แก๊สมูลสัตว์ เป็นประจำ เกณฑ์ประเมิน ผ่าน 4 ใน 5 ข้อ ถือว่าเป็นครัวเรือน คนดี หมายเหตุ ต้องผ่านข้อ 1.5 เกณฑ์ประเมิน ผ่าน 5 ใน 6 ข้อ ถือว่าเป็นครัวเรือน สุขภาพดี เกณฑ์ประเมิน ผ่าน 5 ใน 6 ข้อ ถือว่าเป็นครัวเรือน รายได้ดี ฝึกประเมินวันนี้ ไปประเมินจริง วันที่ 2-3 ภาคชุมชน

ฝึกประเมินวันนี้ ไปประเมินจริง วันที่ 2-3 ภาคชุมชน ชุดที่ 4 ประเมินชุมชน 3 ดี ทุกชุมชน (หน้า 76-82)คำอธิบาย หน้า 31-56) แบบประเมิน ชุมชน 3 ดี บ้าน/ชุมชน................หมู่ที่/ชุมชน….......... ตำบล.............................อำเภอ............. จังหวัดกาฬสินธุ์ กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน.....................................................................................จำนวนครัวเรือน.................................ครัวเรือน หมวดคนดี ผลประเมิน หมวดสุขภาพดี หมวดรายได้ดี ผ่าน ไม่ผ่าน 1.1 ชุมชนจัดกิจกรรมทางศาสนา ปฏิบัติธรรม ฟังธรรมอย่างสม่ำเสมอ หรือถนนสายบุญ 2.1 ชุมชนมีกิจกรรมในการจัดการ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง วัณโรค เป็นรูปธรรม 3.1 ชุมชนมีกิจกรรม ส่งเสริมการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ไว้เป็นอาหาร พอเพียงตลอดปี เช่นสวนครัว หลุมพอเพียง เลี้ยงปลา กบ จิ้งหรีด 1.2 ชุมชนมีการเชิดชูคนทำดี ด้านใด ด้านหนึ่ง 2.2 ชุมชนมี กิจกรรมลดสารฆ่าหญ้า หรือสารเคมีปราบศัตรูพืช ในการเกษตร เป็นรูปธรรม 3.2 ชุมชนมีกิจกรรม ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน เช่นถ่าน ฟืน แก๊สมูลสัตว์ เป็นประจำ 1.3 ชุมชนมีกติกางดเหล้า และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในงานศพ หรือประเพณีที่สำคัญ ของชุมชน 2.3 ชุมชนมี กิจกรรม ในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยอันไม่พึงประสงค์ เป็นรูปธรรม 3.3 ชุมชนมีกิจกรรม ส่งเสริมครัวเรือน ให้มีรายได้พอเพียงสำหรับการดำรงชีวิต ฝึกประเมินวันนี้ ไปประเมินจริง วันที่ 2-3 ภาคชุมชน

1 บ้านต้นแบบ 2 3 4 5 สรุปจากผลการประเมิน วันที่ 2-3 ภาคชุมชน ชุดที่ 5 สรุปผลประเมิน อปท. 3 ดี (หน้า 83) แบบสรุป ผลการประเมิน อปท. 3 ดี สำหรับ ทม./ทต./อบต......................................ตำบล....................อำเภอ...........................จังหวัดกาฬสินธุ์ ครั้งที่ 1 เดือน มีนาคม 2556 ครั้งที่ 2 สิงหาคม 2556 ระดับตำบล โดยจัดทำแบบสรุปผลการประเมินเป็นรายหมู่บ้าน/ชุมชน หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน จำนวนหลังคาเรือน ผลประเมินทั้งหมู่บ้าน ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ผ่าน ไม่ผ่าน 1  บ้านต้นแบบ   2 3 4 5 สรุปจากผลการประเมิน วันที่ 2-3 ภาคชุมชน

1 ตำบลต้นแบบ 2 3 4 5 สรุปจากผลการประเมิน วันที่ 2-3 ภาคชุมชน ชุดที่ 6 สรุปผลประเมินอำเภอ 3 ดี (หน้า 84) แบบสรุป ผลการประเมิน อำเภอ. 3 ดี สำหรับ อำเภอ...........................จังหวัดกาฬสินธุ์ ครั้งที่ 1 เดือน มีนาคม 2556 ครั้งที่ 2 สิงหาคม 2556 ระดับตำบล โดยจัดทำแบบสรุปผลการประเมินเป็นราย อปท. ที่ ชื่อ อปท. จำนวนหมู่บ้าน ผลประเมินทั้ง อปท ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ผ่าน ไม่ผ่าน 1  ตำบลต้นแบบ   2 3 4 5 สรุปจากผลการประเมิน วันที่ 2-3 ภาคชุมชน

งบประมาณ สนับสนุน ทั้งโครงการ 27,000,000 บาท องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งบประมาณ สนับสนุน ศูนย์ประสานงานระดับอำเภอ สนับสนุน การบริหารจัดการ (หน่วยจัดสรรตามจำนวน อปท.) 18อำเภอ/150 อปท. X 20,000 บาท รวม 3,000,000 บาท สนับสนุนตามแผนชุมชน(ตามศักยภาพของชุมชน) 150 อปท.X 160, 000 บาท รวม 24,000,000 บาท ดำเนินงานตามแผนตำบล/ชุมชน 1.วาระจังหวัด 5 เรื่อง 2.ตาม 19 ตัวชี้วัด 3. แผนบูรณการ ดำเนินงาน ตามวาระเน้นหนัก ของจังหวัด เตรียมการ 1.พัฒนาศูนย์/โครงสร้าง 2.ระบบข้อมูลที่จำเป็น 3.สื่อสาร ทำความเข้า ใจกับพื้นที่ 4.กำหนดพื้นที่,ศูนย์เรียนรู้ ต้นแบบ สารทดแทนยาฆ่าหญ้า ดำเนินการ 1.บูรณาการแผน และงบประมาณ 2.สนับสนุนพื้นที่ตามแผนชุมชน/แผนกองทุน 3.สนับสนุนพื้นที่,ศูนย์เรียนรู้ ต้นแบบ 4.ประชุม ติดตาม ความก้าวหน้า สรุปผล 1.ควบคุม กำกับติดตามประเมินผลแบบบูรณาการ 2. รายงานผล 3.มหกรรม 3 ดี 4.สรุปบทเรียน กฏเหล็กปลอดเหล้าหมู่บ้าน/ชุมชน/ตำบล กลไกศูนย์เรียนรู้ การใช้สารชีวภาพฆ่าหญ้า และสารชีวภาพแทนปุ๋ยเคมี ในข้าว มัน อ้อย พืชผัก การจัดทำ ใช้ประโยชน์บัญชีครัวเรือน ตามแบบบันทึกของกาฬสินธุ์

ผู้ว่าฯ ประสาน นายอำเภอ /อปท.ทุกแห่ง ดังนี้ ๑. ประสานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดศูนย์เรียนรู้การลดสารฆ่าหญ้าในการเกษตร ๑ แห่ง และคัดเลือกเพื่อพัฒนายกระดับให้เป็นศูนย์เรียนรู้การลดสารฆ่าหญ้าในการเกษตร ระดับอำเภอ ๑ แห่ง ๒. ประสานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำรวจปราชญ์ชุมชนที่มีความรู้ ประสบการณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการทำเกษตรอินทรีย์หรือปุ๋ยอินทรีย์ หรือการใช้สารชีวภาพแทนสารฆ่าหญ้าในการเกษตร ในเขตพื้นที่รับผิดชอบทุกคน ๓. ทุกอำเภอคัดเลือกปราชญ์ชุมชนจากข้อ ๒ เป็นตัวแทนปราชญ์ชุมชนระดับอำเภอ ๆ ละ ๕ คนและแจ้งให้เข้าร่วมการสัมมนาแนวทางการดำเนินงานพัฒนาสารชีวภาพทดแทนสารฆ่าหญ้าในการเกษตร โดยศูนย์ประสานงานโครงการฯ ระดับจังหวัด จะจัดการสัมมนาในวันที่ ๑ – ๒ เมษายน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมไตรลักษณ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ๔. ประสานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์โครงการและเร่งรัดให้มีครัวเรือนต้นแบบเข้าร่วมกิจกรรมการทำเกษตรอินทรีย์ลดการใช้สารฆ่าหญ้า อย่างน้อย แห่งละ ๕๐ ครัวเรือน

การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาสุขภาพ (ลดสารเคมี สารฆ่าหญ้า ในการเกษตร) การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาสุขภาพ (ลดสารเคมี สารฆ่าหญ้า ในการเกษตร) ศูนย์เรียนรู้ อปท.1 ศูนย์เรียนรู้ อปท.2 ศูนย์เรียนรู้ อปท.3 ศูนย์เรียนรู้ อปท.5/อำเภอ ศูนย์เรียนรู้ อปท.4 ศูนย์เรียนรู้ อปท.6 ศูนย์เรียนรู้ อปท.7 ศูนย์เรียนรู้ อปท.9 ศูนย์เรียนรู้ อปท.8

1.ศูนย์เรียนรู้ลดสารเคมี สารฆ่าหญ้า ลำดับ ชื่อ ศูนย์ ที่อยู่/อปท. เจ้าของ 1  ศูนย์ต้นแบบ 2   3 4 5 สำรวจ ขึ้นทะเบียน ทุก อปท. ทุกคน ทุกประเภท อำเภอ คัด ลำดับ 1 เป็นศูนย์อำเภอ สัมมนา 8-9 เม.ย.

2.ฐานข้อมูลปราชณ์/เครือข่าย/กลุ่มชุมชน ลำดับ ชื่อ สกุล ที่อยู่ ประเภทปราชญ์ 1  ปราชญ์ ตัวแทนอำเภอ 2   3 4 5 สำรวจ ขึ้นทะเบียน ทุก อปท. ทุกคน ทุกประเภท อำเภอ คัด ลำดับ 1-5 เป็นปราชญ์อำเภอ สัมมนา 8-9 เม.ย.

3.ฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ /ภุมปัญญาชุมชน/วัตถุดิบ ลำดับ ชื่อ ผลิตภัณฑ์ พื้นที่ เจ้าของ 1  บ้านต้นแบบ 2   3 4 5

ขอขอบคุณ