Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College การบริหารจัดการโครงการทัศนศึกษาดูงานนักศึกษาอุตสาหกรรม เทคนิคยานยนต์/ไฟฟ้ากำลัง/อิเล็กทรอนิกส์ด้วยการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา ปีการศึกษา 2558 Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยวิธีการเรียนแบบศึกษาดูงาน นักศึกษาอุตสาหกรรม ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา 2. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการโครงการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยวิธีการเรียนแบบศึกษาดูงาน นักศึกษาอุตสาหกรรม ปีการศึกษา 2558
กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น โครงการศึกษาดูงาน ตัวแปรตาม การบริหารจัดการโครงการ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยวิธีการเรียนแบบศึกษาดูงานนักศึกษาอุตสาหกรรม ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา อยู่ในระดับดี ประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยวิธีการเรียนแบบศึกษาดูงานนักศึกษาอุตสาหกรรม ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา จำแนกตามสาขา/ภาคเรียนแตกต่างกัน สมมุติฐานการวิจัย สมมุติฐานการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างผู้วิจัยใช้ตารางการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างของเครซี่และมอร์แกน (ที่มา : Robert V. Krejcie and Earyle W. Morgan. 1970 อ้างใน ธีรวุฒิ เอกะกุล,2543) ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างดังนี้ ลำดับ สาขา ประชากร ร้อยละ กลุ่มตัวอย่าง 1 นักศึกษาสาขาเทคนิคยานยนต์ 38 54.29 34 2 นักศึกษาสาขาไฟฟ้ากำลัง 17 24.29 13 3 นักศึกษาสาขาอิเล็กทรอนิกส์ 15 21.43 12 รวมประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 70 100.00 59
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือในการวิจัย ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวกับการศึกษาการบริการจัดการโครงการและการศึกษาดูงาน 1. 2. นำแนวคิด ทฤษฏีและข้อมูลต่างๆมาสร้างแบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นมาตรส่วน ประมาณค่า และสอบถามปลายเปิด 3. สร้างแบบสอบถามและจัดเก็บข้อมูล
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอนดังนี้ แบบประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการโครงการ 10 ประเด็นเนื้อหา ตอนที่ 1 แบบสอบถามปลายเปิดสอบถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะเพื่อการปรังปรุงและพัฒนา ตอนที่ 2 การประชาสัมพันธ์โครงการก่อนเริ่มโครงการ ความเหมาะสมและความพร้อมของสถานที่ดูงาน ความพร้อมของสื่อการนำเสนอของวิทยากร ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร เนื้อหาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การอบรม ความพร้อมของยานพาหนะรับ-ส่งนักศึกษา ความเหมาะสมของระยะเวลาดูงาน ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ เอกสารประกอบการบรรยาย ความต้องการให้มีการจัดโครงการนี้อีก
การเก็บรวบรวมข้อมูล ตอนที่ 1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ผู้วิจัยจัดการศึกษาดูงานในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ตามโครงการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง 2. ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยตนเองเป็นแบบประเมินประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการทัศนศึกษาดูงานนักศึกษาอุตสาหกรรมสาขาเทคนิคยานยนต์/ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ด้วยการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา ปีการศึกษา 2558 หลังเสร็จสิ้นการศึกษาดูงานแต่ละครั้ง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจำสถานการณ์ต่างๆ ระหว่างการศึกษาดูงานได้ โดยเก็บทั้งหมด จำนวน 59 ชุด ได้รับคืนทั้งสิ้นคิดเป็นร้อยละ 100.00 โดยใช้วิธีการศึกษาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการศึกษาข้อเสนอแนะประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา เนื่องจากเป็นข้อมูลปลายเปิดที่ให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เขียนบรรยาย ตอนที่ 1 การเก็บรวบรวมข้อมูล ตอนที่ 2 สถิติที่ใช้ในการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประสิทธิภาพการบริหารโครงการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงโดยรวม จำแนกตามประเด็น ปีการศึกษา 2558 ลำดับ ประเด็น ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย 1 การประชาสัมพันธ์โครงการก่อนเริ่มโครงการ 4.10 0.35 ดี 2 ความเหมาะสมและความพร้อมของสถานที่ดูงาน 4.61 0.49 ดีมาก 3 ความพร้อมของสื่อการนำเสนอของวิทยากร 4.19 0.68 4 ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร 4.36 0.48 5 เนื้อหาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การอบรม 4.37 4.48 6 ความพร้อมของยานพาหนะรับ-ส่งนักศึกษา 3.97 0.41 7 ความเหมาะสมของระยะเวลาดูงาน 3.56 0.97 8 ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ 4.71 0.45 9 เอกสารประกอบการบรรยาย 4.44 0.50 10 ความต้องการให้มีการจัดโครงการนี้อีก 4.51 0.53 ความพึงพอใจโดยรวม 4.28 0.25
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 2 ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ ผู้วิจัยได้ดำเนินการสรุปข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการโดยเรียงจากความถี่มากไปหาน้อย ดังมีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ ระยะเวลาในการเข้าศึกษาดูงานควรจะนานกว่านี้เพราะมีสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมที่น่าสนใจมากมายต้องใช้เวลาในการจดบันทึกและสอบถามข้อมูล (f=7) ความพร้อมของยานพาหนะแอร์ไม่เย็น (f=4) การประชาสัมพันธ์โครงการควรจะแจ้งข้อมูลไปที่สาขาวิชาโดยตรง (f=2)
รูปภาพประกอบ