การระดมความคิดเห็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลของ กลุ่มที่ 9 ภาคเหนือตอนบน แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน
1. ทำไมต้องเป็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 1. โรงเป็นศูนย์กลางที่มีความพร้อมทุกด้าน 2. ทุกภาคที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นเจ้าของและร่วมพัฒนา 3. ระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ
2. เป้าหมายหลักการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน 1. พัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญ และสามารถจัดการเรียนการสอน ได้ตรงตามสามารถที่แตกต่างของผู้เรียน 2. พัฒนาสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียนรู้และสนองตอบความต้องการ ของผู้เรียนและชุมชน 3. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและโลกปัจจุบัน 4. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และเป็นสมาชิกที่ดี ของสังคมในอนาคต
3.การพัฒนาคุณภาพนักเรียนควรตอบโจทย์อะไร / ระดับใดบ้าง โจทย์ระดับโลก - ผู้เรียนมีความสามารถก้าวทันเทคโนโลยี ใช้ภาษาสากล ในการสื่อสารได้ โจทย์ระดับประเทศ - ผู้เรียนมีคุณตามคุณสมบัติของ 3R8C โจทย์ระดับภาคของประเทศไทย - ผู้เรียนมีคุณสมบัติตามอัตลักษณ์ของท้องถิ่นและประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม กับศตวรรษที่ 21 อย่างสร้างสรรค์ โจทย์การพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด - ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจในความเป็นพลเมืองในจังหวัดและร่วมอนุรักษ์ให้ยั่งยืน
โจทย์ตามบริบทอำเภอ/ตำบล/ท้องถิ่น - มีความสำนึกรักบ้านเกิด สามารถต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่สากล โจทย์การพัฒนาตามความแตกต่างและศักยภาพของนักเรียนรายบุคคล - ผู้เรียนทุกคนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามความสามารถและความสนใจอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง โจทย์การพัฒนาที่ประชาชน/ผู้ปกครองต้องการ - ผู้เรียนได้รับการพัฒนาในการมุ่งศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นหรือประกอบอาชีพที่สามารถเลี้ยงดูตนเอง และเป็นคนดีของสังคม
4. คุณภาพโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลควรเป็นอย่างไร Out come 1. ผู้เรียนมีคุณภาพทางวิชาการและทักษะชีวิต 2. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล 3. ครูผู้สอนมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน Out put 1. สถานศึกษามีความพร้อมทุกด้าน (ครูผู้สอน อาคารสถานที่ สื่อฯ แหล่งเรียนรู้) 2. จำนวนนักเรียนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นตามบริบท
5.การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียน 5.1. ทักษะวิชาการ-ความรู้พื้นฐาน โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และบูรณาการหลักสูตรท้องถิ่นได้อย่างดี สนองตอบความต้องการของผู้เรียนและชุมชน 5.2. ทักษะชีวิต-ทักษะงาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีสามารถดำรงตนในสังคมได้อย่างมีความสุข 5.3. ทักษะอาชีพ – ความรู้เฉพาะทาง ผู้เรียนสามรถต่อยอดวิชาชีพในชุมชนสู่สังคมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีฯ กับวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
6. กระบวนการในการดำเนินการควรทำอย่างไร 6.1 กำหนด Outcome ตัวชี้วัด ครูมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน รางวัล/วิทยฐานะ สถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ความพึงพอใจ หลักสูตรสถานศึกษาที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ผลการประเมินฯ ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ผลการประเมิน/ผลสัมฤทธิ์ 6.1 กำหนด Output อาคารสถานที่/แหล่งเรียนรู้เพียงพอ ข้อมูลสารสนเทศ ครูครบชั้น ครบสาขาวิชาเอก ข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนมีจำนวนเพิ่มจำนวนขึ้น หรือจบการศึกษาตามหลักสูตร ข้อมูลสารสนเทศ
6.3 กำหนด Process ตัวชี้วัด กระบวนการทำงาน PDCA / PLC บันทึกการนิเทศฯ/ Logbook 6.3 กำหนด Input หลักสูตรสถานศึกษาที่สนองผู้เรียน การประเมินหลักสูตร อาคารสถานที่ แหล่งเรียนรู้ ข้อมูลสารสนเทศ
7. เราควรขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอะไรบ้าง จึงจะเกิดผลสัมฤทธิ์ทั้งระยะยาวและระยะสั้น ระยะสั้น - อบรมหรือพัฒนาผู้บริหาร/ครู ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้ความรู้ความเข้าใจโครงการและการพัฒนาโรงเรียน คุณภาพประจำตำบล ระยะยาว -ประกาศหรือแต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนอย่างชัดเจน -ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานโครงการเป็นระยะและต่อเนื่อง
8.เครื่องมือทางการบริหารที่นำมาใช้ควรมีอะไรบ้าง 1.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2.แผนปฏิบัติราชการประจำปี 3.หลักสูตรสถานศึกษา 3.หลักสูตรท้องถิ่น 4.หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 5.แผนอัตรากำลัง 6.แผนการนิเทศ
9.การประเมินความก้าวหน้าความสำเร็จ และรายงานต่อสาธารณชน การประเมินตนเองของสถานศึกษา การประเมินจาหน่วยงานต้นสังกัด การประเมินจากหน่วยงานภายนอก
10.การนับถอยหลังจากนี้ถึงก่อน 16 พ.ค. 62 จะกำหนด Timeline อย่างไร กุมภาพันธ์ 2562 - แต่งตั้ง/ประกาศคณะทำงาน - ประชุมชี้แจง/ทำความเข้าใจ - จัดทำแผนการขับเคลื่อนโครงการฯ เขตพื้นที่ กุมภาพันธ์-มีนาคม 2562 - แต่งตั้ง/ประกาศคณะทำงาน - ประชุมชี้แจง/ทำความเข้าใจ - จัดทำแผนการขับเคลื่อนโครงการฯ จัดทำข้อมูลสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน โรงเรียน
เมษายน – พฤษภาคม 2562 - สื่อ เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน - ครูผู้สอน - ระบบสารสนเทศ ชั้นเรียน พฤษภาคม 2562 - ขอมูลนักเรียนรายบุคคล - ปรับพฤติกรรมหรือความรู้พื้นฐาน นักเรียน