ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
กรณีศึกษา : สำนักกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
ความหมายของโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่จะศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
Stress and Coping with Stress among Youths in the Child and
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 15 มกราคม 2558 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ดร. สุรัตน์
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พลเอก ประสาท สุขเกษตร เลขานุการ รมต.กษ.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
กลุ่มเกษตรกร.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
Product champion: สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน ของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมผลิตถุงยาง ชื่อผู้ทำวิจัย นางสาวมยุรา กำโชติ หลักสูตร วท.บ. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย) อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธนาวัฒน์ รักกมล อาจารย์สุธีร์ อินทร์รักษา และอาจารย์ ดร.ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์ บทนำ ผลการวิจัยและอภิปรายผล (ต่อ) ปัญหาส่วนใหญ่ของผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรม คือ การบาดเจ็บกล้ามเนื้อจากการทำงานซ้ำๆ และการยกของหนัก ไม่ว่าจะเป็นในสภาพประกอบการขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่หรือแม้แต่อุตสาหกรรมในครอบครัว ซึ่งใน ปี พ.ศ. 2550-2552 มีรายงานสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานจำแนกตามความรุนแรงและสาเหตุที่ประสบอันตราย ซึ่งพบว่าจำนวนผู้ที่เจ็บประสบอันตรายจากการยกหรือเคลื่อนย้ายของหนักและจากท่าทางการทำงาน ทั้งสิ้น 10,370 รายดังนั้นการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมผลิตถุงยาง ส่วนระดับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ (2.85± 6.34 ) ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลที่มีสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานของพนักงาน คือ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการยกในการทำงาน (p = 0.035) และจำนวนครั้งที่ยกในแต่ละวัน (p = 0.028) ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน ปัจจัยส่วนส่วนบุคคล p - value 1. เพศ 0.183 1.000 2. ระดับการศึกษา 0.136 0.777 3. อายุ 0.148 0.772 4. สถานภาพ 0.145 2.832 5. อายุการทำงาน 0.736 0.545 6. การประสบอุบัติเหตุที่ก่อให้เกิดการ บาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อหรือกระดูก 1.014 0.522 7. การอบรมเกี่ยวกับปัญหาและการป้องกัน ความเมื่อยล้า 0.012 8. การใช้อุปกรณ์ช่วยยกในการทำงาน 5.416 0.035 9. น้ำหนักเฉลี่ยของที่ยกต่อครั้ง 7.118 0.191 10. จำนวนครั้งที่ยกต่อวัน 3.308 0.028 11. การออกกำลังกาย วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย จะคัดเลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) คือ พนักงานระดับปฏิบัติการแผนกจุ่มแบบพิมพ์ (Dipping) ในส่วนงานซัก-อบ ถุงยางอนามัย จำนวน 63 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเมื่อยล้า และพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน ผลการวิจัยและอภิปรายผล ผลการศึกษา พบว่าพนักงานมีระดับความเมื่อยล้าที่ระดับปวดเมื่อย ปานกลาง หยุดพักงานทุเลาลง ที่บริเวณ หลังส่วนบน (33.3%) และเอว (31.7%) ตามลำดับดังรูปที่ 1 สรุปและข้อเสนอแนะ เอว ปวดเมื่อย ปานกลาง หยุดพักงานทุเลาลง (3) (31.7%) หลังส่วนบน ปวดเมื่อย ปานกลาง หยุดพักงานทุเลาลง (3) (33.3%) พนักงานมีระดับความเมื่อยล้าที่ระดับปวดเมื่อย ปานกลางเมื่อหยุดพักงานทุเลาลง พบที่บริเวณ หลังส่วนบน และเอว ส่วนระดับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ และปัจจัยส่วนบุคคลที่มีสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานของพนักงาน คือ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการยกในการทำงาน และจำนวนครั้งที่ยกในแต่ละวัน อ้างอิง รูปที่ 1 ระดับเมื่อยล้าทางกายจำแนกตามอวัยวะ ตามรูปแบบของมหาวิทยาลัยกำหนด Ex. ชื่อผู้แต่ง.//(ปีพิมพ์).//ชื่อเรื่อง.//เมืองที่พิมพ์/:/สำนักพิมพ์ นภดล ศุกระกาญจน์. (2549). คู่มือปฏิบัติการชีววิทยา 1. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.