ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน ของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมผลิตถุงยาง ชื่อผู้ทำวิจัย นางสาวมยุรา กำโชติ หลักสูตร วท.บ. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย) อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธนาวัฒน์ รักกมล อาจารย์สุธีร์ อินทร์รักษา และอาจารย์ ดร.ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์ บทนำ ผลการวิจัยและอภิปรายผล (ต่อ) ปัญหาส่วนใหญ่ของผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรม คือ การบาดเจ็บกล้ามเนื้อจากการทำงานซ้ำๆ และการยกของหนัก ไม่ว่าจะเป็นในสภาพประกอบการขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่หรือแม้แต่อุตสาหกรรมในครอบครัว ซึ่งใน ปี พ.ศ. 2550-2552 มีรายงานสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานจำแนกตามความรุนแรงและสาเหตุที่ประสบอันตราย ซึ่งพบว่าจำนวนผู้ที่เจ็บประสบอันตรายจากการยกหรือเคลื่อนย้ายของหนักและจากท่าทางการทำงาน ทั้งสิ้น 10,370 รายดังนั้นการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมผลิตถุงยาง ส่วนระดับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ (2.85± 6.34 ) ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลที่มีสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานของพนักงาน คือ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการยกในการทำงาน (p = 0.035) และจำนวนครั้งที่ยกในแต่ละวัน (p = 0.028) ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน ปัจจัยส่วนส่วนบุคคล p - value 1. เพศ 0.183 1.000 2. ระดับการศึกษา 0.136 0.777 3. อายุ 0.148 0.772 4. สถานภาพ 0.145 2.832 5. อายุการทำงาน 0.736 0.545 6. การประสบอุบัติเหตุที่ก่อให้เกิดการ บาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อหรือกระดูก 1.014 0.522 7. การอบรมเกี่ยวกับปัญหาและการป้องกัน ความเมื่อยล้า 0.012 8. การใช้อุปกรณ์ช่วยยกในการทำงาน 5.416 0.035 9. น้ำหนักเฉลี่ยของที่ยกต่อครั้ง 7.118 0.191 10. จำนวนครั้งที่ยกต่อวัน 3.308 0.028 11. การออกกำลังกาย วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย จะคัดเลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) คือ พนักงานระดับปฏิบัติการแผนกจุ่มแบบพิมพ์ (Dipping) ในส่วนงานซัก-อบ ถุงยางอนามัย จำนวน 63 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเมื่อยล้า และพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน ผลการวิจัยและอภิปรายผล ผลการศึกษา พบว่าพนักงานมีระดับความเมื่อยล้าที่ระดับปวดเมื่อย ปานกลาง หยุดพักงานทุเลาลง ที่บริเวณ หลังส่วนบน (33.3%) และเอว (31.7%) ตามลำดับดังรูปที่ 1 สรุปและข้อเสนอแนะ เอว ปวดเมื่อย ปานกลาง หยุดพักงานทุเลาลง (3) (31.7%) หลังส่วนบน ปวดเมื่อย ปานกลาง หยุดพักงานทุเลาลง (3) (33.3%) พนักงานมีระดับความเมื่อยล้าที่ระดับปวดเมื่อย ปานกลางเมื่อหยุดพักงานทุเลาลง พบที่บริเวณ หลังส่วนบน และเอว ส่วนระดับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ และปัจจัยส่วนบุคคลที่มีสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงานของพนักงาน คือ การใช้อุปกรณ์ช่วยในการยกในการทำงาน และจำนวนครั้งที่ยกในแต่ละวัน อ้างอิง รูปที่ 1 ระดับเมื่อยล้าทางกายจำแนกตามอวัยวะ ตามรูปแบบของมหาวิทยาลัยกำหนด Ex. ชื่อผู้แต่ง.//(ปีพิมพ์).//ชื่อเรื่อง.//เมืองที่พิมพ์/:/สำนักพิมพ์ นภดล ศุกระกาญจน์. (2549). คู่มือปฏิบัติการชีววิทยา 1. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.