มาตรา ๕๔ การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะใดและการเลื่อนเป็นวิทยฐานะใด ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน วิทยฐานะตามมาตรา ๔๒ ซึ่งผ่านการประเมิน ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงความประพฤติ ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ประสบการณ์ คุณภาพการปฏิบัติงาน ความชำนาญ ความเชี่ยวชาญ ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้าน การเรียนการสอนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.กำหนด
เป็นวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ และวิทยฐานะเชี่ยวชาญ หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้มีผลงานดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จ เป็นที่ประจักษ์มีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ เป็นวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ และวิทยฐานะเชี่ยวชาญ (ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ด่วนที่สุด ที่ ศธ ๐๒๐๖.๓/ว ๑๓ ลงวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๖)
การยื่นคำขอ กำหนดให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษายื่นคำขอรับการประเมิน ในระหว่างวันที่ ๑-๓๐ เมษายน ๒๕๕๙ (ถึงผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ส่วนราชการต้นสังกัดเสนอรายชื่อข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ได้รับการคัดเลือกพร้อมกัน พร้อมเอกสารหลักฐานถึงสำนักงาน ก.ค.ศ. ภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ สำหรับรายเกษียณอายุราชการ ในปี ๒๕๕๙ ให้ส่งถึงสำนักงาน ก.ค.ศ.ภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ ผลงานดีเด่นที่ได้รับรางวัลสูงสุดระดับชาติขึ้นไป และผลงานดีเด่น ที่มีคุณภาพเทียบเคียงกับรางวัลสูงสุดระดับชาติขึ้นไปจะต้องเป็นผลงาน ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ถึงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๙
หลักการ หลักเกณฑ์และวิธีการฯ นี้ ใช้สำหรับ การขอให้ข้าราชการครูฯ ที่มีผลงานดีเด่นฯ มีหรือเลื่อนเป็นวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ และเชี่ยวชาญทุกสายงาน ให้ส่วนราชการต้นสังกัดเป็นผู้ขอ
คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการคัดเลือก ๑ คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการคัดเลือก ๑. ต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตามมาตรฐานวิทยฐานะ ๒. มีภาระงานการสอนขั้นต่ำ/ภาระงานตามที่ ส่วนราชการกำหนด ๓. ปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบในตำแหน่งที่ขอรับการประเมินย้อนหลัง ๓ ปีติดต่อกัน **และเพิ่ม** ๔. มีผลงานดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ ๕. มีข้อเสนอในการพัฒนางาน
คุณสมบัติตามมาตรฐานวิทยฐานะ ตำแหน่ง ขอ ชนพ. ขอ ชช. ครู รอง ผอ. สถานศึกษา ผอ. สถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ รอง ผอ.สพท./กศน. ผอ. สพท./กศน. วิทยฐานะชำนาญการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี ดำรงตำแหน่งรอง ผอ.สพท./กศน. มาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑ ปี - วิทยฐานะชำนาญการพิเศษมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี หรือ วิทยฐานะชำนาญการ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี วิทยฐานะชำนาญการพิเศษมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี ดำรงตำแหน่งผอ. สพท./กศน. มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี
ภาระงานการสอนขั้นต่ำ สังกัด สพฐ. ภาระงานการสอนขั้นต่ำ สังกัด สพฐ. ๑๘ ชั่วโมง /สัปดาห์ ตำแหน่ง ชั่วโมงสอน งานสอน +งานอื่น ๆ ตำแหน่งครู -ระดับประถมศึกษา - ระดับมัธยมศึกษา - รร.ศึกษาสงเคราะห์และ ราชประชานุเคราะห์ ๑๒ ชั่วโมง /สัปดาห์ ๑๘ ชั่วโมง /สัปดาห์ - ระดับปฐมวัย - รร. เฉพาะความพิการ และศูนย์การศึกษาพิเศษ ๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาระงานการสอนขั้นต่ำ สังกัด สอศ. ภาระงานการสอนขั้นต่ำ สังกัด สอศ. ตำแหน่ง/ภาระงาน ชั่วโมงสอน ชม.สอน+งานอื่น ๆ ตำแหน่งครู สอน ๑๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ ๒๑๖ ชั่วโมง/ภาคเรียน สอน+ ปฏิบัติหน้าที่รองผอ./หัวหน้าแผนก/หัวหน้างาน ๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ ๑๐๘ ชั่วโมง/ภาคเรียน สอน+ปฏิบัติหน้าที่ผช.หัวหน้าแผนก/ผช.หัวหน้างาน ๙ ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ ๑๖๒ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ สอน+ปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษา ๑๐ ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ ๑๘๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๓๒๔ ชั่วโมง/ สัปดาห์ สอน+ปฏิบัติหน้าที่ครูพี่เลี้ยง สอน+ปฏิบัติหน้าที่บริการวิชาชีพฯ ๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ ๑๐๘ชั่วโมง/ภาคเรียน
ภาระงานการสอนขั้นต่ำ สังกัด สำนักงาน กศน. ภาระงานการสอนขั้นต่ำ สังกัด สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน ตำแหน่ง/ภาระงาน ชั่วโมงสอน ชม.สอน+งานอื่น ๆ ตำแหน่งครู ทุกประเภทที่จัดการศึกษา ๑๐ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ ปวช. ๑๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ เป็นไปตามประกาศ ของ สกอ. ปวส. ๑๖ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ อนุปริญญา ๘ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
ปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบย้อนหลัง ๓ ปี ให้นับตั้งแต่วันที่ดำรงตำแหน่งถึงวันที่ยื่นคำขอ ตัวอย่าง ขอเลื่อนเป็นวิทยฐานะผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ ก.ค.ศ. ให้ยื่นคำขอ ๑-๓๐ เมษายน ๒๕๕๙ - ดำรงตำแหน่ง ผอ.สถานศึกษา ๑๖ มิ.ย. ๒๕๕๑ - วิทยฐานะ ผอ.ชำนาญการ ๑ ก.พ. ๒๕๕๒ - วิทยฐานะ ผอ.ชำนาญการพิเศษ ๒๙ ต.ค. ๒๕๕๖ - ปฏิบัติงานเต็มเวลา ถามว่า มีคุณสมบัติตามข้อ ๑-๓ หรือไม่
ผลงานดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ ๑. รางวัลสูงสุดระดับชาติขึ้นไป ที่ ก.ค.ศ.ให้การรับรอง ปัจจุบัน ก.ค.ศ. ให้การรับรองรางวัล จำนวน ๒๐๓ รางวัล (ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๓/ว ๑ ลงวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙) ๒. ผลงานดีเด่นฯ ที่มีคุณภาพเทียบเคียงกับรางวัลสูงสุดระดับชาติขึ้นไป ก.ค.ศ. ตั้ง อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเฉพาะกิจเพื่อพิจารณารับรองรางวัล สูงสุดระดับชาติขึ้นไป พิจารณาผลงานเทียบเคียงและพิจารณา คุณสมบัติของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นผู้พิจารณา ผลงานเทียบเคียง ที่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเสนอมา
การพิจารณาผลงานที่มีคุณภาพเทียบเคียงกับผลงานที่ได้รับรางวัลสูงสุดระดับชาติขึ้นไป มีองค์ประกอบในการพิจารณาดังนี้ ๑) ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพในการบริหารและการจัด การศึกษาจนเป็นที่ประจักษ์ ๒) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๓) เป็นที่ยอมรับของผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน ชุมชน วงวิชาการและวงวิชาชีพ ๔) เป็นแบบอย่างที่ดีให้ผู้อื่นสามารถนำไปปฏิบัติหรือ ประยุกต์ใช้ได้
จำนวนผลงานดีเด่นที่ได้รับรางวัลสูงสุดระดับชาติขึ้นไป และผลงานเทียบเคียงฯ ที่เสนอ ๒ รางวัล/รายการ สำหรับวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ๓ รางวัล/รายการ สำหรับวิทยฐานะเชี่ยวชาญ รางวัล/ผลงานดังกล่าวต้องอยู่ภายในระยะเวลา ๓ ปี ถ้าเกิน ๓ ปี ต้องมีการพัฒนางานและใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่อง และมีผลการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานสอดคล้องกับผลงานดีเด่นฯ ที่ได้รับ
ผลงานดีเด่นฯ - ตรงกับวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เสนอขอ - ผลงานที่ได้รับอนุมัติแล้วไม่สามารถนำมาขอได้อีก ทำคนเดียว - ๑ รางวัล/๑ เรื่อง (๑๐๐%) ชำนาญการพิเศษ - ๒ รางวัล/ ๒ เรื่อง (๑๐๐%) เชี่ยวชาญ ทำหลายคน - ระบุสัดส่วน - ผู้จัดทำร่วมต้องลงนามรับรอง
ตัวอย่าง - ขอเลื่อนเป็นวิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ - เสนอขอวิชาภาษาไทย ผลงานดีเด่นฯ ที่เสนอขอประเภทรางวัลสูงสุดระดับชาติ กรณี ทำคนเดียว ร่วมจัดทำ ๑ ภาษาไทย - ได้ ๒ ภาษาไทย ได้ ๓ ภาษาไทย วิชาอื่น ได้ ๔ วิชาอื่น ภาษาไทย ไม่ได้ ๕ - ภาษาไทย ไม่ได้
ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นรับรอง ผลงานฯ ทุกรางวัล เอกสารสรุปผลงานดีเด่นฯ ๑ เล่ม ๕๐ หน้า + ๑๐ หน้า (ภาคผนวก)
สรุปผลงานดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ต้องจัดทำตามองค์ประกอบ ดังนี้ ๑) สภาพปัญหา แนวคิด หรือแรงจูงใจในการจัดทำผลงาน ดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์ ๒) วิธีดำเนินการจัดทำผลงานดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จ เป็นที่ประจักษ์ ๓) ผลที่เกิดจากการนำผลงานดีเด่นที่ประสพผลสำเร็จ เป็นที่ประจักษ์ไปใช้ ๔) แนวคิดในการพัฒนาต่อไป
จัดทำข้อเสนอในการพัฒนางาน ๑ เรื่อง - ต่อยอดจากผลงานฯ ที่เสนอขอ - ตรงกับสาขา /สาขาวิชา/กลุ่มสาระ ที่เสนอขอ
ข้อตกลง ข้อเสนอในการพัฒนางานว่า “ ภายในระยะเวลาที่กำหนด จะพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ ให้ปรากฏผลสำเร็จ (๓ เดือน) ”
ข้อตกลงในการพัฒนางาน ประกอบด้วย ประเด็นในการพัฒนา เป้าหมายในการพัฒนา วิธีการพัฒนา แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลการพัฒนา
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ให้ความเห็นชอบ “ ข้อเสนอ” “ข้อตกลง” เริ่มนับเวลา สพท. /ส่วนราชการแจ้งผู้คัดเลือกทราบ จัดทำรายงานผลการพัฒนาตามข้อตกลง จำนวน ๔ ชุด คณะกรรมการให้ปรับปรุงได้ ภายใน ๓ เดือน
สรุป ผู้ขอรับการประเมินต้องยื่นเอกสาร ดังนี้ ๑. แบบคำขอ ก.ค.ศ. ๑ (ดีเด่น) ๒. แบบรายงานด้านที่ ๑ ก.ค.ศ. ๒ (ดีเด่น) ๓. แบบรายงานด้านที่ ๓ ประกอบด้วย ส่วนที่ ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพฯ ก.ค.ศ. ๓ (ดีเด่น) ส่วนที่ ๒ เอกสารสรุปผลงานดีเด่นฯ ไม่เกิน ๕๐ หน้า ส่วนที่ ๓ ข้อเสนอการพัฒนางานตามข้อตกลง ชนพ. จำนวน ๕ ชุด และ ชช. จำนวน ๔ ชุด
การประเมินและเกณฑ์การตัดสิน เกณฑ์ตัดสิน ด้านที่ ๑ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ กำหนด เกณฑ์ผ่าน เป็นร้อยละ เช่นเดียวกับ ว ๑๗/๒๕๕๒ ด้านที่ ๒ ด้านความรู้ความสามารถ ด้านที่ ๓ ด้านผลการปฏิบัติงาน ส่วนที่ ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ส่วนที่ ๒ ผลงานดีเด่นฯ ส่วนที่ ๓ ผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลง ผ่าน/ไม่ผ่าน
เกณฑ์การตัดสิน การประเมิน ชนพ. ชช. ด้านที่ ๑ เฉลี่ย ๓ คน ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๗๕ ด้านที่ ๒ เฉลี่ย ๓ คน ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๗๕ ด้านที่ ๓ ส่วนที่ ๑ กรรมการแต่ละคน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๕ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๐ ส่วนที่ ๒ กรรมการแต่ละคน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๕ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๐ รวมเฉลี่ยกรรมการแต่ละคน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๐ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๕ ส่วนที่ ๓ ผ่าน/ไม่ผ่าน
สังกัด สพฐ. ยื่นต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้น สังกัด สพฐ. ยื่นต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้น คณะกรรมการกลั่นกรองระดับเขตพื้นที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา คัดเลือก สพฐ. ก.ค.ศ.
อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง คัดเลือก ส่วนราชการอื่น ยื่นต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้น คณะกรรมการกลั่นกรอง อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง คัดเลือก ส่วนราชการต้นสังกัด ก.ค.ศ.
คณะกรรมการประเมิน มี ๑ ชุด จำนวน ๓ คน ประเมิน ๓ ด้าน ๑. วิทยฐานะเชี่ยวชาญ ก.ค.ศ. ตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์เหมาะสม และมีวิทยฐานะไม่ต่ำกว่าวิทยฐานะที่ขอ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ให้ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา/ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ.ตั้ง ตั้งกรรมการประเมินจากบัญชีรายชื่อที่ ก.ค.ศ.กำหนด ๒. ให้กรรมการประเมิน ณ สถานที่ปฏิบัติงานของผู้รับการประเมิน
ผ่านการประเมินทั้ง ๓ ด้าน - ด้านวินัยฯ - ด้านความรู้ความสามารถ - ด้านผลการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน ส่วนที่ ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ตามหน้าที่ ส่วนที่ ๒ ผลงานดีเด่นฯ ส่วนที่ ๓ ผลงานทางวิชาการ (ข้อตกลง)
การอนุมัติ - ชนพ. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา - ชช. ก.ค.ศ. “ไม่ก่อนวันที่สำนักงาน ก.ค.ศ. ได้รับคำขอ + เอกสารครบ และต้องผ่านการพัฒนา”
วิธีการ มีคุณสมบัติ ลง website สำนักงาน ก.ค.ศ. ๑๕ วัน ส่วนราชการคัดเลือก + ลง website ๓๐ วัน ก.ค.ศ. ตั้ง อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเฉพาะกิจฯ เสนอ อ.ก.ค.ศ.เขต/ อ.ก.ค.ที่ ก.ค.ศ.ตั้ง/ ก.ค.ศ. พิจารณา ประเมินด้านที่ ๑ ด้านที่ ๒ และ ด้านที่ ๓ ณ สถานที่ปฏิบัติงาน ชนพ. แจ้งรายชื่อ ให้ส่วนราชการ ต้นสังกัดทราบ และดำเนินการ ชช. สนง. กคศ. ดำเนินการ ประเมินต่อไป ผ่าน ไม่ผ่าน ผู้มีอำนาจ ตามมาตรา ๕๓ แต่งตั้ง
- ไม่ก่อนวันที่สำนักงาน ก.ค.ศ. ได้รับคำขอ เอกสาร ผู้ได้รับการคัดเลือก (ประกาศ website) ถือว่าเป็น ผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้นเท่านั้น การแต่งตั้ง - ไม่ก่อนวันที่สำนักงาน ก.ค.ศ. ได้รับคำขอ เอกสาร ครบถ้วนและต้องผ่านการพัฒนาก่อนแต่งตั้ง - ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของอันดับ คศ. ๓ หรือ อันดับ คศ. ๔ แล้วแต่กรณี ไม่เกิน ๑ ขั้น (กระโดด ๑ ขั้น)
แบบคำขอ แบบรายงาน และแบบข้อเสนอในการพัฒนางาน ๑. แบบ ก.ค.ศ. ๑ (ดีเด่น) แบบคำขอให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะหรือเลื่อน วิทยฐานะชำนาญการพิเศษและวิทยฐานะเชี่ยวชาญ (ทุกตำแหน่ง) ๒. แบบ ก.ค.ศ. ๒ (ดีเด่น) แบบรายงานด้านที่ ๑ ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ทุกตำแหน่ง ๓. แบบ ก.ค.ศ. ๓/๑ (ดีเด่น) แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (ด้านที่ ๓) สายงานการสอน
แบบคำขอ แบบรายงาน และแบบข้อเสนอในการพัฒนางาน (ต่อ) ๔. แบบ ก.ค.ศ. ๓/๒ (ดีเด่น) แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (ด้านที่ ๓) สายงานบริหารสถานศึกษา ๕. แบบ ก.ค.ศ. ๓/๓ (ดีเด่น) แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (ด้านที่ ๓) สายงานบริหารการศึกษา สังกัด สพฐ. ๖. แบบ ก.ค.ศ. ๓/๔ (ดีเด่น) แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (ด้านที่ ๓) สายงานนิเทศการศึกษา ๗. แบบ ก.ค.ศ. ๓/๕ (ดีเด่น) แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (ด้านที่ ๓) สายงานบริหารการศึกษา สังกัดสำนักงาน กศน. ๘. แบบข้อเสนอในการพัฒนางาน (ด้านที่ 3 ส่วนที่ 3)
แบบเสนอรายชื่อผลงานดีเด่น แบบแสดงรายละเอียด การมีส่วนร่วมในการจัดทำผลงานดีเด่น และแบบเสนอรายชื่อ ๑. แบบ ๑ แบบเสนอรายชื่อผลงานดีเด่นฯ ข้อ ๒.๔.๑ กรณีผู้มีรางวัลสูงสุด ระดับชาติขึ้นไป ๒. แบบ ๒ แบบเสนอรายชื่อผลงานดีเด่นฯ ข้อ ๒.๔.๒ กรณีผู้มีผลงานเทียบเคียงฯ ๓. แบบ ๓ แบบเสนอรายชื่อผลงานดีเด่นฯ ข้อ ๒.๔.๒ กรณีผู้มีรางวัลสูงสุด ระดับชาติขึ้นไป และมีผลงานเทียบเคียงฯ ๔. แบบ ๔ แสดงรายละเอียดการมีส่วนร่วมจัดทำผลงานดีเด่นฯ ๔. แบบ ๕ แบบเสนอรายชื่อข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ได้รับการคัดเลือก