ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท รศ.สุรชัย ขวัญเมือง
1. ความหมาย เอกสารหรือหลักฐานที่จัดทำขึ้นจาก - ความรู้ ความสามารถ - ทักษะและประสบการณ์ของผู้จัดทำ มีการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย
นำไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือ ความหมาย (ต่อ) นำไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือ พัฒนางานในหน้าที่ จนเกิดผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ
ขอบข่ายของผลงานทางวิชาการ (สายงานการสอน) ขอบข่ายของผลงานทางวิชาการ (สายงานการสอน)
ขอบข่ายของผลงาน (ต่อ) เอกสารหรือหลักฐานเกี่ยวกับการสอน ที่แสดงถึงความชำนาญ หรือ ความเชี่ยวชาญ หรือ ผลงานในลักษณะอื่น ซึ่งใช้ประโยชน์ในการสอนหรือจัดการศึกษาได้เป็นอย่างดี
ขอบข่ายของผลงาน (ต่อ) ตรงกับสาขาวิชาที่ขอให้มีการเลื่อนวิทยฐานะ เป็นผลงานที่เกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอนในสาขาวิชาต่างๆ และใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน เกิดจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการสอน
2. ประเภทของผลงานทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการต้องแสดงถึง ความรู้ความสามารถ ความชำนาญ และความเชี่ยวชาญ แบ่งเป็น 3 ประเภท
ประเภทของผลงานทางวิชาการ (ต่อ) 1. ผลงาน งานแต่งเรียบเรียง งานแปล หนังสือ หรือเขียนบทความทางวิทยาการ เป็นผลงานที่ได้รับการพิมพ์ เผยแพร่มาแล้ว นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประเภทของผลงานทางวิชาการ (ต่อ) 2. ผลงานวิจัย ได้รับการพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประเภทของผลงานทางวิชาการ (ต่อ) 3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น การประเมินงาน หรือประเมินโครงการฯ สื่อ นวัตกรรมทางการศึกษา เช่น สื่อการเรียนการสอน
ผลงานลักษณะอื่น (ต่อ) ผลงานด้านการคิดพัฒนารูปแบบนวัตกรรมที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งจัดทำเป็น เอกสาร สื่ออิเลคทรอนิกส์ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เทคนิค วิธีการจัดการเรียนรู้
ประเภทของผลงานทางวิชาการ (ต่อ) 4. เอกสารการประกอบการปฏิบัติหน้าที่ เป็นเอกสารที่สามารถใช้ประกอบในการปฏิบัติหน้าที่ ด้าน... - การเรียนการสอน - บริหารจัดการศึกษา - การนิเทศการศึกษา ส่งผลต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานในหน้าที่สูงขึ้น
แนวทางการปฏิบัติหน้าที่ (ต่อ) ข้อควรระวัง 1.) แผนการจัดการเรียนรู้ ห้ามมิให้นำมาใช้เสนอเป็นผลงานวิชาการ (ให้ใช้เป็นเอกสารประกอบการประเมินคุณภาพ) 2.) ผลงานทางวิชาการ ต้องไม่เป็นผลงานที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา หรือ - เคยใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่ง หรือเลื่อนวิทยฐานะมาแล้ว
แนวทางการปฏิบัติหน้าที่ (ต่อ) ข้อควรระวัง 3.) ผลงานที่มิได้จัดทำแต่ผู้เดียว - ให้ระบุผู้ขอมีส่วนร่วมจัดทำร้อยละเท่าไหร่ - จัดทำอยู่ในส่วนใด - ผู้ร่วมจัดทำ ต้องรับรองว่าผู้ร่วมจัดทำได้จัดทำในส่วนใด
3. ลักษณะสำคัญของผลงานทางวิชาการ
ด้านคุณภาพของผลงานวิชาการ 1. รูปแบบ - ต้องมีรูปแบบถูกต้องตามวิชาการ เช่น - งานวิจัย ต้องถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย - บทเรียนสำเร็จรูป ต้องจัดทำให้ถูกต้องตามรูปแบบของบทเรียนสำเร็จรูป
- รายงานการพัฒนานวัตกรรม ต้องจัดทำให้ถูกต้องตามรูปแบบของรายงาน ด้านคุณภาพของผลงานวิชาการ(ต่อ) - รายงานการประเมินโครงการ ต้องจัดทำให้ถูกต้องตามรูปแบบของรายการการประเมินโครงการ - รายงานการพัฒนานวัตกรรม ต้องจัดทำให้ถูกต้องตามรูปแบบของรายงาน
ด้านคุณภาพของผลงานวิชาการ(ต่อ) 2. เนื้อหาสาระ - ต้องมีเนื้อหาสาระถูกต้อง ตามหลักวิชาการครบถ้วน ทันสมัย - มีการค้นคว้าอ้างอิงถูกต้องเชื่อถือได้ - เรียบเรียงเนื้อหาได้ถูกต้องตามหลักภาษา - จัดเรียงหัวข้อ เนื้อหาเป็นระบบเดียวกัน
3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านคุณภาพของผลงานวิชาการ(ต่อ) 3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - ต้องมีส่วนที่แสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - มีเนื้อหา ภาระและมีรูปแบบใหม่ - ไม่คัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยมิชอบ
4. การอ้างอิง - เกิดจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต่างๆ ด้านคุณภาพของผลงานวิชาการ(ต่อ) 4. การอ้างอิง - เกิดจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต่างๆ - ต้องมีการอ้างอิง จัดทำเชิงอรรถ บรรณานุกรม ได้ถูกต้องและเป็นรูปแบบเดียวกัน
5. การพิมพ์และการจัดทำรูปเล่ม ด้านคุณภาพของผลงานวิชาการ(ต่อ) 5. การพิมพ์และการจัดทำรูปเล่ม - จัดพิมพ์ถูกต้อง สวยงาม ถูกต้องตามหลักวิชาการ เช่น - การพิมพ์หัวข้อ การย่อหน้า การจัดพิมพ์ตาราง การพิมพ์เชิงอรรถ บรรณานุกรม - จัดทำรูปเล่มถูกต้อง มีปกหน้า ปกหลัง ในรอยปก หน้าปก คำนำ สารบัญ บรรณานุกรม ภาคผนวก
ลักษณะของผลงานทางวิชาการ (ต่อ) ด้านประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ - ควรแสดงให้เห็นถึงการจัดทำ การทดลองใช้ การนำไปใช้จริง องค์ความรู้ที่เกิดขึ้น และผลจากการนำไปใช้ - มีการเผยแพร่ทางวิชาการ