รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dublin Core Metadata tiac. or
Advertisements

*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
Interoperable ICT system and Open Data Format
แนวทางการดำเนินงานของ PULINET ในการจัดการสารสนเทศเกี่ยวกับอาเซียน
ENTITY มุมมองยุคสารสนเทศ สังคมสารสนเทศ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) ประยุกต์สู่ New Economy ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ Processors.
ห้องสมุดดิจิทัล Digital library
EAU-MIS T. Pichai สรรพสิ่ง (Entity) สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ,Environment มี กฎเกณฑ์ องค์ประกอบ และการอยู่ร่วมกัน ของมันเอง กฎเกณฑ์มีอย่างน้อยดังนี้ 1.มี
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
235015, Artificial Intelligence ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2-5) สัปดาห์ที่ 1 แนะนำรายวิชาปัญญาประดิษฐ์
การพัฒนาโปรแกรมสืบค้น สื่อภาพยนตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ณัฐชาพงษ์ รักสกุล กานต์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย
Data Management (การจัดการข้อมูล)
การจัดการองค์ความรู้
รายงานความก้าวหน้า งานบริหารและธุรการ
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
Project based Learning
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
รายวิชา Scientific Learning Skills
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
Data Management (การจัดการข้อมูล)
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาดิจิทัลคอลเลคชั่น
Introduction to information System
Introduction to information System
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM)
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย... โกมินทร์ อินรัสพงศ์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์
หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหาร สายสนับสนุนและช่วยวิชาการ
LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โทร. (มท) หรือ โทร มีนาคม 2559.
คู่มือการใช้บริการ CIP
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
Information Retrieval
แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่
ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
การเขียนย่อหน้า.
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข รายวิชา แหล่งสารสนเทศ หน่วยที่ 8 การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข

ความสำคัญของการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ 1. ทางสังคม : แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) 2. ทางการเมือง : พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร ของทางราชการ พ.ศ. 2540 3. ทางเศรษฐกิจ : แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge – based Economy)

1. แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ศักยภาพและใช้ชีวิตอย่างมีความสุข นับเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากแรงจูงใจที่จะเรียนด้วยตนเองจากแหล่งการเรียนรู้ทุกชนิด

แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ต่อ) (Lifelong Learning) แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ต่อ) (Lifelong Learning) แนวคิดดังกล่าวได้ถูกนำมาตราในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยมาตรา 25 บัญญัติว่า “รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษ-ศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์กีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อย่าง พอเพียงและมีประสิทธิภาพ”

2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ ทางราชการ พ.ศ 2540 เหตุผลสำคัญประการหนึ่งของการตราพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 คือ “เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ เพื่อจะได้สามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง”

3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge – based Economy)

3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (ต่อ) 3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (ต่อ) เศรษฐกิจฐานความรู้คือ (Knowledge – based Economy)หมายถึงเศรษฐกิจที่ให้ความสำคัญในด้านการผลิต การแพร่กระจายสินค้าและการบริการ โดยอาศัยความรู้เป็นตัวขับเคลื่อน เพื่อสร้างความเติบโต ความมั่งคั่ง และสร้างงานในทุกภาคเศรษฐกิจ (OECD, 1996, 2002) ความรู้และนวัตกรรมจึงเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนามากกว่าเงินทุนและแรงงาน ซึ่งปัจจัยสำคัญประการหนึ่งคือความสามารถของบุคคลที่จะเข้าถึงแหล่งความรู้

สรุป แนวคิดดังกล่าวจะเป็นจริงในทางปฏิบัติได้ก็ต่อเมื่อประชาชนไทยมีโอกาสและความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยที่รัฐต้องมีมาตรการที่ชัดเจนและจริงจังในการพัฒนาแหล่งสารสนเทศแต่ละระดับ

วิธีการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ การเข้าถึง แหล่งสารสนเทศ ประเภทต่างๆ การเข้าถึง แหล่งสารสนเทศ ประเภท แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศแบบทางเดียว 1. ฟัง สื่อโสตทัศน์ สื่อดิจิทัล บุคคล การเข้าร่วมประชุม สัมมนา ของจริง สื่อโสตทัศน์ สื่อหลายมิติ 2. ดู 3. อ่าน ต้นฉบับตัวเขียน สื่อสิ่งพิมพ์ ฐานข้อมูล สื่อโสตทัศน์ สื่อดิจิทัล การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ แบบสองทาง สนทนา สัมภาษณ์ แหล่งสารสนเทศคำบอก

หลักการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ การจับคู่อย่างถูกต้องระหว่างแหล่งสารสนเทศที่มีอยู่กับความต้องการผู้ใช้ (Correct Matching) - ผู้ใช้มีความแตกต่างระหว่างบุคคลและภายในบุคคล - แหล่งสารสนเทศบางประเภทเหมาะกับการเข้าถึงของผู้ใช้ที่มีข้อจำกัดบางด้าน เช่น ผู้พิการทางสายตา - บุคคลที่อาศัยอยู่ในชนบทย่อมมีศักยภาพในการใช้ ICT เข้าถึงสารสนเทศต่างจากผู้ที่อยู่ในสังคมเมือง

บทบาทของนักสารสนเทศใน การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ 1. การเข้าถึงเชิงความรู้ (Intellectual Access) 2. การเข้าถึงเชิงกายภาพ (Physical Access)

1. การเข้าถึงเชิงความรู้ (Intellectual Access) เป็นการจัดทำข้อมูลตัวแทนทรัพยากร สารสนเทศ (Surrogate Records) และเครื่องมือช่วยค้นในรูป บรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป บัญชีรายชื่อ Metadata การวิเคราะห์หมวดหมู่ (Classification) และทำรายการ (Cataloging) การกำหนดสัญลักษณ์ การระบุแหล่งที่อยู่ เป็นต้น

2. การเข้าถึงเชิงกายภาพ (Physical Access) - เป็นการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศในจำนวนที่เพียงพอและเหมาะสมกับระดับของผู้ใช้ โดยให้มีข้อจำกัดเรื่องระยะทาง เวลาและสถานที่น้อยที่สุด - ควรมีหลักประกันว่าผู้ใช้จะได้รับทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ - แสวงหาความร่วมมือในรูปเครือข่าย (Library Network)

ความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าถึง เชิงความรู้และการเข้าถึงเชิงกายภาพ Correct Matching แหล่งสารสนเทศ (Information Sources) - สารสนเทศปฐมภูมิ - สารสนเทศทุติยภูมิ ที่อยู่ในรูปลักษณ์ต่างๆ ข้อมูลตัวแทนทรัพยากร สารสนเทศ และเครื่องมือช่วยค้น (Search Tools) - บรรณานุกรม - ดรรชนี - สาระสังเขป - บัญชีรายชื่อ - Catalogue (OPAC) - Metadata ความต้องการของผู้ใช้ (Users’ Need) - ประเภท - จำนวน - เวลา - สถานที่ Intellectual Access Physical Access