งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่
แนวทางการบริหารแรงงานเพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัดชายแดน (SEZ) นโยบายที่เกี่ยวข้อง : นโยบายรัฐบาลมุ่งไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 โดยเน้นพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ระดับนโยบาย นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : พัฒนาทักษะฝีมือแรงงานตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพื่อรองรับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ส่งเสริมการมีงานทำ / ทดสอบความพร้อมทางอาชีพ / จับคู่ matching (กกจ.) พัฒนาทักษะฝีมือ (กพร.) แนะนำสิทธิประโยชน์ประกันสังคมและสิทธิหน้าที่ในการทำงาน (กสร.และ สปส.) ระดับพื้นที่ 1. การบริหารกำลังคน (สป.= ศทส. สรจ.) วิเคราะห์ข้อมูล demand/supply เพื่อกำหนดทิศทางในการดำเนินงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ : มีฐานข้อมูลด้านแรงงานที่ถูกต้อง สมบูรณ์ และทันสมัย แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่ ผลลัพธ์ 4. คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและหน้าที่ในการทำงาน (สสค.) 4.1 กำกับ ส่งเสริม คุ้มครองแรงงาน สิทธิประโยชน์และสวัสดิการแก่ลูกจ้าง 4.2 กำกับ ส่งเสริม ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน 4.3 พัฒนาระบบแรงงานสัมพันธ์เพื่อป้องกันปัญหาความขัดแย้ง 4.4 รับข้อร้องเรียน ตรวจสอบ และให้บริการ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : แรงงานได้รับการคุ้มครองและได้รับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายไม่น้อยกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด 2. ให้บริการจัดหางาน (สจจ.) 2.1 รับลงทะเบียน สมัครงาน 2.2 ทดสอบความพร้อมทางอาชีพ 2.3 Matching demand/supply 2.4 นัดพบแรงงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ : บรรจุงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 5. การคุ้มครองแรงงาน ให้มีความมั่นคงในการดำรงชีวิต (สปจ.) 5.1 ขึ้นทะเบียนแรงงานให้อยู่ในระบบประกันสังคม 5.2 การจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีต่าง ๆ ตามสิทธิ ตามกฎหมายที่กำหนด 5.3 การบังคับใช้กฎหมายประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทนให้มีประสิทธิภาพ 5.4 การส่งเสริมสุขภาพผู้ประกันตน 5.5 การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจของผู้ประกันตน 5.6 การสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้ประกันตนที่เจ็บป่วยและทุพลภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : จำนวนผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของค่าเป้าหมาย 3. การพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน (สพร./สนพ.) 3.1 พัฒนาทักษะแรงงานในพื้นที่ 3.2 ส่งเสริมให้สถานประกอบการพัฒนาทักษะในพื้นที่ 3.3 ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ผู้ผ่านการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 60


ดาวน์โหลด ppt แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google