สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
Advertisements

การดำเนินงานลดขั้นตอนและระยะเวลาให้บริการ (ตัวชี้วัดที่ 9)
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สกลนครโมเดล.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12 ตัวชี้วัดที่ 1.11 ร้อยละตำบลบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม มีนวัตกรรมสังคมหรือ Best Practice กลุ่มเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย 200 ตำบลบูรณาการส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม ของปี 2559 – 2560 ร้อยละ 50 ของตำบลเป้าหมายของศูนย์อนามัยมีนวัตกรรม อย่างน้อยตำบลละ 1 นวัตกรรม/ Best Practice เกณฑ์การประเมิน 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560 - กุมภาพันธ์ 2561) 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561 - กรกฎาคม 2561) ระดับ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน 1 มีแผนงาน/โครงการดำเนินงานขับเคลื่อนของหน่วยงานร่วมกับภาคีเครือข่ายและ พชอ. 2 ศูนย์อนามัยและภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพวิทยากรกระบวนการ 3 ร้อยละ 25 ของตำบลเป้าหมายของศูนย์อนามัยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมกับพื้นที่ และ พชอ. ค้นหานวัตกรรม หรือ Best Practice 4 ร้อยละ 50 ของตำบลเป้าหมายของศูนย์อนามัยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมกับพื้นที่และ พชอ. ค้นหานวัตกรรม หรือ Best Practice 5 ร้อยละ 100 ของตำบลเป้าหมายของศูนย์อนามัยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมกับพื้นที่และ พชอ. ค้นหานวัตกรรม หรือ Best Practice ระดับ กิจกรรมที่ดำเนินการ คะแนน 1 ยกระดับการพัฒนานวัตกรรมหรือ Best Practice 2 ร้อยละ 25 ของตำบลเป้าหมายมีการ ถอดบทเรียนการดำเนินงาน 3 ร้อยละ 50 ของตำบลเป้าหมายมีนวัตกรรมหรือ Best Practice ตำบลละ 1 เรื่อง 4 ร้อยละ 60 ของตำบลเป้าหมายมีนวัตกรรมหรือ Best Practice ตำบลละ 1 เรื่อง 5 ร้อยละ 70 ของตำบลเป้าหมายมีนวัตกรรมหรือ Best Practice ตำบลละ 1 เรื่อง

สำหรับส่วนกลาง + ศูนย์อนามัย ที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12 ตัวชี้วัดที่ 1.11 ร้อยละตำบลบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม มีนวัตกรรมสังคมหรือ Best Practice มาตรการสำคัญ (PIRAB) P : 1) สร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนการดำเนินงานกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 2) ประสานความร่วมมือกับเขตสุขภาพ ศูนย์วิชาการของกรมต่าง ๆ ในเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนให้มีการจัดทำค่ากลางที่คาดหวังระดับจังหวัด และบูรณาการการทำงานร่วมกับพื้นที่ I : 1) กรมอนามัย จัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานในระดับส่วนกลาง และศูนย์อนามัย 2) ศูนย์อนามัยประสานเขตสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสปสช. เพื่อสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน และสร้างนวัตกรรมสังคม R : เป็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในระดับพื้นที่จังหวัด (Area Based) เพื่อให้เกิดการบูรณาการแผนงาน/โครงการผ่าน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ พร้อมทั้งมีการติดตามกำกับการดำเนินงาน เยี่ยมเสริมพลังโดย คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนฯ และรายงานผลการดำเนินงานทุกเดือน A : สร้างความเข้าใจและนำประเด็นสื่อสารหลัก(Key message) เพื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพไปใช้ในการดำเนินงานแก่ จังหวัดในพื้นที่เป้าหมายเรื่องการบูรณาการโดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และเทคนิคการจัดการค่ากลาง การสร้าง และจัดการนวัตกรรมสังคม สื่อสารผ่านกลุ่มไลน์, cop ตำบลบูรณาการ, จัดเวทีแลกเปลี่ยนรู้ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ทีมวิทยากรและถอดบทเรียน B : พัฒนาศักยภาพบุคลากร ภาคีเครือข่าย ได้แก่ อบรมวิทยากรกระบวนการให้แก่ศูนย์อนามัยและภาคีเครือข่าย โดยเฉพาะ พชอ. สัมมนาวิชาการบูรณาการนวัตกรรมสังคมสู่การปฏิรูประบบสุขภาพชุมชนในยุคประเทศ 4.0 รวมทั้งการถอดบทเรียนพื้นที่ที่มีนวัตกรรม/best practice เพื่อเผยแพร่และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่พื้นที่อื่น ๆ นำไปประยุกต์ต่อไป

สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12 ตัวชี้วัดที่ 1.11 ร้อยละตำบลบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม มีนวัตกรรมสังคมหรือ Best Practice Small Success กลไก รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน หน่วยงาน ส่วนกลาง 1. การประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมสังคม เพื่อทบทวนผลการดำเนินงานปีงบ ประมาณ พ.ศ. 2559–2560 และกำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงาน ปี 2561 2. อบรมวิทยากรกระบวนการและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ให้แก่ศูนย์อนามัยและภาคีเครือข่าย (26 – 30 พ.ย. 60) 3. จัดทำระบบการรายงานผลการดำเนินงานออนไลน์ 1. ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมสังคม เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน 2. จัดสัมมนาวิชาการบูรณาการนวัตกรรมสังคมสู่การปฏิรูประบบสุขภาพชุมชนในยุคประเทศ 4.0 3. ประชุมจัดทำเครื่องมือการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ 4. ถอดบทเรียนนวัตกรรมการดำเนินงาน 13 พื้นที่ 1. ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมสังคม เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน 2. ถอดบทเรียนนวัตกรรมการดำเนินงาน 13 พื้นที่ 1. ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมสังคม เพื่อติดตามและสรุปผลการดำเนินงาน 2. สรุปผลการถอดบทเรียนและการการดำเนินงานโครงการ 3. คณะอนุกรรมการ และ Super trainer ส่วนกลาง สนับสนุน ติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง ศูนย์อนามัย 1. ร่วมประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมสังคม เพื่อทบทวนผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ.2559–2560 และกำหนดกรอบ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2561 2. จัดทำแผนการดำเนินงานตำบลบูรณาการฯ ร่วมกับพชอ. 3. ร่วมอบรมวิทยากรกระบวนการและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ให้แก่ศูนย์อนามัย และภาคีเครือข่าย 4. ดำเนินงานบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมร่วมกับพชอ.และภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ 1. ร่วมประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมสังคม เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน 2. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่และนำค่ากลางไปยกระดับการดำเนินงาน ประเมินความเสี่ยงในพื้นที่ 3. ค้นหานวัตกรรมหรือ Best practiceและถอดบทเรียนพื้นที่ตำบลบูรณาการ 4. ร่วมกับส่วนกลางจัดสัมมนาวิชาการบูรณาการนวัตกรรมสังคมสู่การปฏิรูประบบสุขภาพชุมชนในยุค ประเทศ 4.0 5. ค้นหานวัตกรรม หรือBest Practice ร่วมกับพชอ. ครบทุกตำบล 1. ร่วมประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมสังคม เพื่อติดตามผลการดำเนินงานโครงการ 2. ร่วมกับส่วนกลางถอดบทเรียนนวัตกรรมการดำเนินงานโครงการ 3. ถอดบทเรียนในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์ฯ 1. ร่วมประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมสังคม เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน 2. ร่วมสรุปผลการถอดบทเรียนและการดำเนินงานโครงการ 3. ร่วมกับคณะ อนุกรรมการ และ Super trainerส่วนกลาง สนับสนุน ติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง

สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12 ตัวชี้วัดที่ 1.11 ร้อยละตำบลบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม มีนวัตกรรมสังคมหรือ Best Practice หลักฐานสำหรับการประเมินให้คะแนน ประเด็น หลักฐาน มีแผนงาน/โครงการดำเนินงานขับเคลื่อนของ หน่วยงานร่วมกับภาคีเครือข่ายและ พชอ. โครงการขับเคลื่อนของหน่วยงานที่แสดงถึงการทำงานร่วมกับ พชอ.และภาคีเครือข่ายอย่างชัดเจน เช่น บทบาทหน้าที่ ใครทำอะไร ใช้งบประมาณจากไหน เท่าไหร่ 2. ศูนย์อนามัยและภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนา ศักยภาพวิทยากรกระบวนการ มีบุคลากรจากศูนย์อนามัยและคณะกรรมการจากพื้นที่ พชอ. เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพอย่างน้อย 2 คน 3. ร้อยละของตำบลเป้าหมายของศูนย์อนามัย ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมกับพื้นที่และ พชอ. ค้นหานวัตกรรม หรือ Best Practice ยกตัวอย่างเช่น กระบวนการค้นหาค่ากลาง, การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากนิทรรศการ, บัญชีนวัตกรรมของชุมชนค้นหาจากประชาชนเจ้าของความคิด ซึ่งต้องมีบัญชีหลักฐานแสดงรายการชื่อตำบลที่เข้าร่วม จำนวนนวัตกรรมที่ค้นพบจำแนกตามรายตำบล 4. ยกระดับการพัฒนานวัตกรรมหรือ Best Practice มติการประชุมหรือเอกสารที่แสดงว่าได้มีการคัดเลือก สนับสนุนให้มีการพัฒนา งาน/ นวัตกรรมให้ดีขึ้น เช่น สนับสนุนงบประมาณและติดตามผลเป็นระยะ 5. ร้อยละ 25 ของตำบลเป้าหมายมีการ ถอดบทเรียนการดำเนินงาน เอกสารการถอดบทเรียน 6. ร้อยละ 50 ของตำบลเป้าหมายมีนวัตกรรมหรือ Best Practice ตำบลละ 1 เรื่อง บัญชีนวัตกรรมแยกตามรายประเภท

สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12 ตัวชี้วัดที่ 1.11 ร้อยละตำบลบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม มีนวัตกรรมสังคมหรือ Best Practice ผู้รับผิดชอบประเมินผลให้คะแนนตัวชี้วัด 1. นางปิยพร เสาร์สาร ตำแหน่ง รักษาการนักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ (ด้านสิ่งแวดล้อม) โทรศัพท์ 02-5904228 2. นางสาวพิริยา วัฒนารุ่งกานต์ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02-5904554 3. นางณัฎฐกา กิจสมมารถ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ โทรศัพท์ 02-5904585 4. นางรัชนี บุญเรืองศรี ตำแหน่ง นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02-5904508 5. ทพญ.สุรัตน์ มงคลชัยอรัญญา ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02-5904215 6. นางแรกขวัญ สระวาสี ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02-5904703 7. นางปรียานุช บูรณะภักดี ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02-5904261