เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ HPHNQC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC) นพ. ธนาสิทธิ์ วิจิตราพันธ์
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
Strategic Line of Sight
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ HPHNQC นายแพทย์ชื่น เตชามหาชัย สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

Health Promotion กระบวนการเพิ่มสมรรถนะของคนในการควบคุมปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ เพื่อพัฒนาสุขภาพของตนเอง ปัจจัยเสี่ยง VS ปัจจัยเสริม

Promotion - Prevention Primordial prevention Primary prevention Secondary prevention Tertiary prevention Quaternary prevention

Disability threshold Functional Capacity Fitness Gap age กราฟ A life-course perspective to maintain the highest possible level of functional capacity.

กลยุทธ์การส่งเสริมตามกฎบัตรออตตาวา สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เสริมสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง พัฒนาทักษะส่วนบุคคล ปรับเปลี่ยนบริการสุขภาพ สุขภาวะ

Bangkok charter I : Investment R : Regulation A : Advocacy P : Partnership I : Investment R : Regulation A : Advocacy B : Building Capacity “The science and art of preventing disease, prolonging life and promoting health and efficiency through organized community efforts” (Winslow, 1920) “Fulfilling society’s interest in assuring conditions in which people can be healthy” (IOM report, 1988)

กลวิธี Empower Advocate Mediate Area-function-participation (AFP) Communities – the population perspective Prevent – primary and secondary prevention approach

การ Approach Health Issue - Accident - DM - HT - obescity - MI - CVA - STD + AIDS - Drug abuse CA - Stress iron deficiency - environmental health Health Issue Spread of Disease: Example – West Nile Virus Environmental Hazards: Example – Lead Poisoning Responds to Disasters: Example - Bioterrorism

การ Approach Health Setting - Healthy workplace - Health promoting School - Health promoting Hospital - Healthy families - Healthy communities - Healthy cities Health Setting Prevents injuries: Example – head trauma due to bicycle crash Promote healthy behavior: Example – smoking cessation, good nutrition, etc. Assure health services: Example – access to prenatal care

การ Approach Target Group กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มด้อยโอกาส แม่และเด็ก วัยเรียน วัยทำงาน วัยทอง ผู้สูงอายุ Target Group WHO: All public, private, and voluntary entities that contribute to public health in a given area WHAT: A network of entities with differing roles, relationships, and interactions. All entities contribute to the health and well-being of the community. NOTE: A public health system is more than the public health agency

มีเกณฑ์ 7 องค์ประกอบ ดังนี้ เกณฑ์คุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ Health Promoting Hospital National Quality Criteria มีเกณฑ์ 7 องค์ประกอบ ดังนี้ การนำองค์กรและการบริหาร การวางแผนกลยุทธ์และการบริหารทรัพยากร การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร การส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ผลลัพธ์การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

เกณฑ์คุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 1 - 6 เป็นกระบวนการ เป็นแนวคำถามเพื่อให้เห็นถึงวิธีการว่าทำอย่างไร (โดยเน้นให้เห็น A D L I ) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others องค์ประกอบที่ 7 ผลลัพธ์มี 4 ประเด็น ตาม องค์ประกอบที่ 3 – 6

เกณฑ์คุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ การให้คะแนน องค์ประกอบที่ 1- 5 120 คะแนน (องค์ละ) องค์ประกอบที่ 6 150 คะแนน องค์ประกอบที่ 7 250 คะแนน คะแนนรวม 1000 คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

องค์ประกอบที่ 1 - 6 “กระบวนการ’’ หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และ ประเมินกระบวนการ “กระบวนการ’’ หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และ ปรับปรุง เพื่อตอบสนองข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อ ในหมวด 1-6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินกระบวนการ ได้แก่ แนวทาง (Approach - A) การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L) การบูรณาการ (Integration - I) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

แนวทาง (Approach - A) “ แนวทาง ” หมายถึง “ แนวทาง ” หมายถึง วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล ความเหมาะสมของวิธีการที่ตอบสนองข้อกำหนดของหัวข้อต่างๆ ความมีประสิทธิผลของการใช้วิธีการต่างๆ ขององค์กร ระดับของการที่แนวทางนั้นนำไปใช้ซ้ำได้ และอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลและสารสนเทศที่เชื่อถือได้ (ซึ่งหมายถึง การดำเนินการอย่างเป็นระบบ) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

แนวทาง (Approach - A) มีความเป็นระบบ คือ แนวทางซึ่งมีการจัดขั้นตอนไว้เป็นลำดับ สามารถทำซ้ำได้ และมี การใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ หรืออาจกล่าวได้ว่า แนวทางมีความเป็นระบบ หากมีการประเมิน การปรับปรุง และการแบ่งปันรวมอยู่ด้วย จนส่งผลให้แนวทางนั้น มีระดับความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

การถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ (Deployment – D) “ การถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ” หมายถึง ความครอบคลุม และทั่วถึงของ การใช้แนวทางเพื่อตอบสนองข้อกำหนดของหัวข้อที่มีความเกี่ยวข้องและสำคัญต่อองค์กร การใช้แนวทางอย่างคงเส้นคงวา การใช้แนวทางไปใช้ (สู่การปฏิบัติ) ในทุกหน่วยงานที่เหมาะสม Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

การเรียนรู้ ( Learning – L ) “การเรียนรู้” หมายถึง การปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น โดยใช้วงจรการประเมินและการปรับปรุง การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดของแนวทาง ผ่านการสร้างนวัตกรรม การแบ่งปันความรู้จากการปรับปรุงและการสร้างนวัตกรรมกับหน่วยงานและกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร

การบูรณาการ (Integration - I) “ การบูรณาการ ” หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึง ของ แนวทางที่ใช้สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับความต้องการขององค์กร และข้อข้อกำหนดของหัวข้อต่างๆ ในเกณฑ์ การใช้ตัววัด สารสนเทศ และระบบการปรับปรุงที่ช่วยเสริมซึ่งกันและกัน ทั้งระหว่างกระบวนการและระหว่างหน่วยงานทั่วทั้งองค์กร แผนงาน กระบวนการ ผลลัพธ์ การวิเคราะห์ การเรียนรู้ และการปฏิบัติการ มีความสอดคล้องกลมกลืนกันในทุก กระบวนการและหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ ระดับองค์กร Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

ผลลัพธ์ “ผลลัพธ์” หมายถึง ผลผลิตและผลลัพธ์ของ “ผลลัพธ์” หมายถึง ผลผลิตและผลลัพธ์ของ องค์กรที่บรรลุผลตามข้อกำหนดใน หัวข้อที่ 7.1 - 7.4 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินผลลัพธ์ ได้แก่ - ระดับ ( Level – L ) - แนวโน้ม ( Trend – T ) - การเปรียบเทียบ ( Comparison – C ) - การบูรณาการ ( Integration – I ) (LeTCI) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ ระดับ ( Level – L ) - ผลการดำเนินการในปัจจุบัน แนวโน้ม ( Trend – T ) - อัตราของการปรับปรุงผลการดำเนินการหรือ การรักษาไว้ของผลการดำเนินการที่ดี (ความลาดชันของแนวโน้มของข้อมูล) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ (ต่อ) การเปรียบเทียบ ( Comparison – C ) - ผลการดำเนินการขององค์กรเปรียบเทียบกับสารสนเทศขององค์กรอื่นอย่างเหมาะสม เช่นคู่แข่ง หรือองค์กรที่คล้ายคลึงกัน - ผลการดำเนินการขององค์กรเทียบเคียงกับระดับเทียบเคียง หรือองค์กรที่เป็นผู้นำธุรกิจหรือวงการเดียวกัน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ (ต่อ) การบูรณาการ ( Integration – I ) ความครอบคลุมและทั่วถึง ของ - ตัววัดผลต่างๆ (มักมีการจำแนก) ที่ระบุผลการดำเนินการด้านลูกค้ารายสำคัญผลิตภัณฑ์ ตลาด กระบวนการ และแผนปฏิบัติการที่ระบุผลการดำเนินการ ที่ต้องการ ตามที่ปรากฏอยู่ในโครงร่างองค์กรและหัวข้อที่อยู่ในหมวด 1-6 - ผลลัพธ์ รวมถึงตัวชี้วัดที่เชื่อถือได้สำหรับผลการดำเนินการในอนาคต - ผลลัพธ์มีการสอดประสานอย่างกลมกลืนในทุกกระบวนการและหน่วยงานเพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ระดับองค์กร Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

คะแนนขององค์ประกอบและหัวข้อต่างๆ Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

องค์ประกอบที่ 1 การนำองค์กร และการบริหาร องค์ประกอบที่ 1 การนำองค์กร และการบริหาร 120 คะแนน 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายที่แสดงความมุ่งมั่นต่อการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ : ผู้นำ / ทีมนำ มีการแสดงความมุ่งมั่นอย่างไรที่ทำให้บรรลุ วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others ให้อธิบาย การได้มา ซึ่ง วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และ แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของผู้นำ / ทีมนำของโรงพยาบาลต่อการพัฒนาโรงพยาบาลให้เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งวิธีการที่ผู้นำสื่อสารกับบุคลากร เพื่อกระตุ้นให้เกิดผลการดำเนินการที่ดี

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการดำเนินการอย่างไร ให้ได้มาซึ่ง วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย ที่แสดงความมุ่งมั่นต่อการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (2) โรงพยาบาลมีวิธีการสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา นโยบาย ด้านการส่งเสริมสุขภาพไปยังบุคลากร ภาคีเครือข่ายที่สำคัญ ผู้รับบริการ และชุมชน อย่างไร (3) ทีมนำทำอย่างไรในการบูรณาการแนวคิด การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของชุมชน (4) ทีมนำทำอย่างไร ในการ คงความมุ่งมั่น ให้ โรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน

(1) ทีมนำมีวิธีการใน การกำหนดโครงสร้างคณะกรรมการ 1.2 โครงสร้าง และผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการดำเนินการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ : ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการกำหนดโครงสร้างคณะกรรมการโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน ให้อธิบายถึงการ กำหนดคณะกรรมการ หรือคณะทำงานที่รับผิดชอบในการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานที่ เป็นระบบ และแสดงกลไกการเชื่อมโยง ประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) ทีมนำมีวิธีการใน การกำหนดโครงสร้างคณะกรรมการ หรือคณะทำงาน ที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ให้มีความเชื่อมโยง เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพอย่างไร

1.3 วัฒนธรรมองค์กร เหมาะสมต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ : ทีมนำมีวิธีการอย่างไรในการปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรที่เหมาะสมต่อการดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน ให้อธิบาย วิธีการที่ทีมนำปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแสดงให้เห็นถึงการทำงานของโรงพยาบาลที่มีผู้นำ และทีมงานที่เป็น สหสาขาวิชาชีพ โดย เป็นแบบอย่าง ที่ดีและมี จิตวิญญาณ ของการส่งเสริมสุขภาพ โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ขั้นตอนสำคัญมีอะไรบ้าง ผู้เกี่ยวข้องมีใคร ซึ่งจะนำไปสู่การเป็นองค์กรที่เป็นแบบอย่างด้านการ ส่งเสริมสุขภาพ (2) ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการสอดแทรกกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพเข้ามาในงานประจำ

องค์ประกอบที่ 2 การวางแผนกลยุทธ์และ องค์ประกอบที่ 2 การวางแผนกลยุทธ์และ การบริหารทรัพยากร 120 คะแนน 2.1 การวางแผนกลยุทธ์ : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรในการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน ให้อธิบายถึง วิธีการ ที่โรงพยาบาลใช้ในการวางแผน กลยุทธ์การพัฒนาโรงพยาบาลให้เป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงพยาบาล เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไร ในการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ขั้นตอนที่สำคัญในการจัดทำแผนกลยุทธ์มีอะไร ผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญมีใคร และข้อมูลนำเข้าในการจัดทำแผนมีอะไรบ้าง

2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ : โรงพยาบาลนำ กลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ไปปฏิบัติ อย่างไร 40 คะแนน ให้อธิบายวิธีการแปลง วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่แผนปฏิบัติการ การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ รวมทั้งการถ่ายทอดและสร้างความเข้าใจแผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการ ให้กับบุคลากรภายในองค์กร ภาคีเครือข่าย ผู้รับบริการและชุมชน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การจัดทำแผนปฏิบัติการ ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ เพื่อการดำเนินงานให้บุคลากร ภาคีเครือข่าย และชุมชน ที่ทำให้มั่นใจว่ามีการนำไปปฏิบัติอย่างสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน (3) โรงพยาบาลมี ระบบการประเมิน/วัดผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการที่สำคัญอย่างไร

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 2.3 การบริหารทรัพยากร : โรงพยาบาลมี วิธีการ อย่างไรในการ บริหารทรัพยากร เพื่อใช้ในการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน ให้อธิบายระบบการ บริหารทรัพยากร ได้แก่ บุคลากร งบประมาณ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ในการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และอธิบายวิธีการที่ทำให้เชื่อมั่นได้ว่า บุคลากรของโรงพยาบาลมีสมรรถนะที่เพียงพอที่จะดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการจัดสรรทรัพยากรด้านงบประมาณเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ให้เพียงพอ เหมาะสม เพื่อสนับสนุนแผนปฏิบัติการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ (2) โรงพยาบาลมีวิธีการในการสรรหาและพัฒนาทรัพยากร บุคคลอย่างไร ที่เอื้อต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพ (3) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการเสริมสร้างให้ บุคลากรมีผลงานด้านส่งเสริมสุขภาพที่ดี และเกิดแรงจูงใจให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิผล

องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ : โรงพยาบาลมี วิธีการจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อย่างไร 40 คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others ให้อธิบายวิธีการในการจัดการด้าน โครงสร้าง อาคารสถานที่ รวมถึงการจัดการ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในแผนกต่างๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานว่าด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อม อธิบายแนวทางการถ่ายทอด เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมี แนวทางการดำเนินงาน การถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งทบทวนและปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น ในเรื่องการจัดการโครงสร้างด้านกายภาพและการจัดการ สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ต่อไปนี้อย่างไร • การกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ตามหลักสุขาภิบาลและ กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2545 • การบำบัดน้ำเสียและตรวจคุณภาพน้ำตามมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งของกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม • การจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ • อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน • การจัดการให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ ที่ป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออก

3.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม : โรงพยาบาลมี 3.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม : โรงพยาบาลมี วิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม อย่างไร 40 คะแนน อธิบายวิธีการในการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อ สร้างบรรยากาศในการทำงาน ซึ่งนำไปสู่การเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และแนวทาง การถ่ายทอดเพื่อนำไปสู่ การปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีแนวทางการดำเนินงาน การถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้ง ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น ในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อทำให้สิ่งเหล่านี้บรรลุผลได้อย่างไร • บรรยากาศ การต้อนรับและบริการที่เป็นมิตร • การจัดกิจกรรมที่สนับสนุน การมีส่วนร่วม และปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคลากรหรือระหว่างผู้ให้บริการกับ ผู้รับบริการและบรรยากาศที่ดี ในการทำงานที่ดีขึ้น

3.3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ : โรงพยาบาลมีวิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ อย่างไร 40 คะแนน อธิบายวิธีการในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ แนวทาง การถ่ายทอดเพื่อนำไปสู่ การปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่ว ทั้งองค์กร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีแนว ทางการดำเนินงาน การถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งทบทวนและปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น ในเรื่อง การจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ โดยพิจารณาปัจจัยต่อไปนี้ อย่างไร • การจัดสถานที่พักผ่อน สถานที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาทักษะของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว และประชาชน • การจัดให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ ตาม พรบ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551

องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 120 คะแนน 4.1 ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ด้านสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร 40 คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others ให้อธิบายกระบวนการ จัดการข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพบุคลากรของโรงพยาบาล อธิบายที่มาของข้อมูล ระบบการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการได้มาของข้อมูลและ วิธีการจัดเก็บ ข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร (2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การสื่อสารข้อมูล และนำข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร ไปใช้ ในการสนับสนุนการดูแลส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

ต่อการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 4.2 กฎระเบียบ ข้อตกลง ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรใน การกำหนดกฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 40 คะแนน ให้อธิบาย วิธีการกำหนด และถ่ายทอด กฎระเบียบ ข้อตกลง แนวทางการปฏิบัติที่เอื้อ ต่อการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรในการกำหนด กฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรขั้นตอนที่สำคัญมีอะไรบ้าง ผู้เกี่ยวข้องมีใครบ้าง (2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การถ่ายทอด กฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการดำเนินการอย่างครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร

4.3 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาล : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน ให้อธิบายวิธีการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการ ส่งเสริมสุขภาพและ การเสริมพลัง (Empowerment) บุคลากรของโรงพยาบาล อธิบายการวางแผนและวิธีการ วัดผลการจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพและปรับปรุงผลการ ดำเนินงานที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาและ/หรือ ความต้องการของบุคลากร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ และ การเสริมพลัง (Empowerment) ให้กับบุคลากรของโรงพยาบาล ข้อมูลที่สำคัญในการนำมาวางแผน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ มีอะไรบ้าง (2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการ จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ บุคลากร ให้สอดคล้องกับปัญหา หรือความต้องการของบุคลากร กลุ่มที่มีสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย เพื่อให้บุคลากรเป็นแบบอย่างด้านการส่งเสริมสุขภาพ (3) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพบุคลากรที่สำคัญ อะไรบ้าง (4) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการควบคุมกำกับ การ วัดผล และนำผลไปใช้ในการปรับกระบวนการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

องค์ประกอบที่ 5 การส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ องค์ประกอบที่ 5 การส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ 120 คะแนน 5.1 ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการจัดการ ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ 40 คะแนน 40 คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others ให้อธิบาย กระบวนการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ อธิบายที่มาของข้อมูล ระบบการจัดเก็บข้อมูลสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการ ได้มาของข้อมูลและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ ของผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องเชื่อถือได้ ทันสมัยและพร้อมใช้ (2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการสื่อสารและนำข้อมูลข่าวด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพไปใช้ในการสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ

5.2 การปรับระบบบริการของโรงพยาบาล : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรใน การปรับระบบริการ ส่งเสริมสุขภาพของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ 40 คะแนน ให้อธิบายถึงการปรับระบบบริการ ที่มีการบูรณาการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่สอดคล้องหรือตอบสนองกับปัญหาความต้องการด้านสุขภาพของผู้รับบริการครอบครัวและญาติ โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการปรับระบบบริการที่ สอดคล้องหรือตอบสนองกับปัญหาและความต้องการของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ และระบบบริการเหล่านี้มีอะไรบ้าง (2) โรงพยาบาลมีการปรับระบบบริการอย่างไรที่แสดงให้เห็นถึงการบริการแบบองค์รวม

5.3 การประเมินกระบวนการให้บริการ : โรงพยาบาล มีวิธีการอย่างไรในการประเมินกระบวนการให้บริการ การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ 40 คะแนน ให้แสดงถึง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ รวมถึง แผนติดตามประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงการดำเนินงานและการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัดและการวัดผลการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติที่สำคัญอะไรบ้าง (2) โรงพยาบาลมีการประเมิน ระบบการให้บริการที่มี การบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายอย่างไร (3) โรงพยาบาลมีวิธีการนำผลการประเมินไปใช้ใน การปรับกระบวนการ ส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติอย่างไร

องค์ประกอบที่ 6 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน องค์ประกอบที่ 6 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน 150 คะแนน 6.1 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน : โรงพยาบาลมี วิธีการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนอย่างไร 70 คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others ให้อธิบายวิธีการวางระบบส่งเสริมสุขภาพในชุมชน โดยเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างโรงพยาบาล ภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในชุมชน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีการวางระบบบริการส่งเสริมสุขภาพ จาก โรงพยาบาล ลงสู่ชุมชนที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นๆอย่างไรที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ ของชุมชน (2) โรงพยาบาล ภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนมีการ ดำเนินการอย่างไรในการบูรณาการ งานส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

6.2 การสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง : โรงพยาบาลมีวิธีการสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง อย่างไร 80 คะแนน ให้อธิบายถึงการสนับสนุน ส่งเสริมให้ชุมชนเกิดการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายต่างๆ โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรที่สนับสนุนให้ชุมชนมี ฐานข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ได้ (2) โรงพยาบาลมีแนวทางอย่างไรในการสนับสนุนให้เกิดแผนงาน ส่งเสริมสุขภาพ ถ่ายทอดนำสู่การปฏิบัติและประเมินผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพ โดยชุมชนมีส่วนร่วมทุก ขั้นตอน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน

องค์ประกอบที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 250 คะแนน 7.1 ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อม : ผลการ ดำเนินงาน ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นอย่างไร 60 คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ โดยแสดงผลลัพธ์จำแนกใน แต่ละด้าน รวมทั้งให้แสดงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม

แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ (1) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (2) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางสังคม (3) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7.1(1) – (3) เป็นการแสดง ผลลัพธ์ของโรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 3 และผลลัพธ์ที่ควรรายงานเพิ่มเติม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ - ผลการตรวจคุณภาพน้ำบริโภคทางห้องปฏิบัติการ - ผลการตรวจคุณภาพน้ำเสีย - ผลลัพธ์ของการจัดการสุขาภิบาลโรงอาหารโรงครัว - ผลลัพธ์ของการจัดการมูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อ สิ่งแวดล้อมทางสังคม - ผลการประเมินความพึงพอใจผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และข้อร้องเรียนต่างๆ สิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ - ผลการประเมินสื่อ สถานที่ และอุปกรณ์ที่เอื้อ/กระตุ้นต่อการส่งเสริมสุขภาพ

แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ 7.2 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร : ผลการดำเนินงาน ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเป็นอย่างไร 65 คะแนน สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญในการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรโดยแสดง ผลลัพธ์ด้านพฤติกรรมสุขภาพ บุคลากรและด้านภาวะสุขภาพ รวมทั้งแสดงให้เห็นระดับ แนวโน้ม และการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เหมาะสม แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ (1) ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7.2(1) เป็นการแสดงผลลัพธ์ของโรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 4 และผลลัพธ์ที่ควรรายงานเพิ่มเติม ได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพบุคลากร - การบริโภคอาหาร - การออกกำลังกาย - การเลิกบุหรี่ แอลกอฮอล์ - พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ภาวะสุขภาพบุคลากร - สมรรถภาพทางกาย - ภาวะเครียด - ไขมันในเลือด ความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด - ภาวะโภชนาการ BMI/รอบเอว - การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน - อุบัติการการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ

แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ 7.3 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ : ผลการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติเป็นอย่างไร 65 คะแนน สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ โดยแสดงผลลัพธ์ ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และภาวะสุขภาพ รวมทั้งแสดงให้เห็นระดับ แนวโน้ม และการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เหมาะสม แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ (1) ผลลัพธ์การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการครอบครัวและญาติ

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7.3(1) เป็นการแสดงผลลัพธ์ของโรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 5 และผลลัพธ์ที่ควรรายงานเพิ่มเติม ได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ - พฤติกรรมสุขภาพในแต่ละกลุ่ม (กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย) เช่น การบริโภค หรือการออกกำลังกาย - Exclusive Breast Feeding - การสูบบุหรี่ และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภาวะสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ - Low Birth weight - พัฒนาการสมวัย - อัตราการป่วยซ้ำ - อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน - ไขมันในเลือด ความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด - ภาวะโภชนาการ BMI/รอบเอว

แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ (1) ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน 7.4 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน : การดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน เป็นอย่างไร 60 คะแนน สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนและการสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง โดย แสดงผลลัพธ์จำแนกในแต่ละด้าน รวมทั้งแสดงให้เห็นระดับ แนวโน้ม และการเปรียบเทียบที่เหมาะสม แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ (1) ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน (2) ผลลัพธ์ด้านความเข้มแข็งของชุมชน

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ7.4 (1) – (2) เป็นการแสดงผลลัพธ์ของโรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 6 และผลลัพธ์ที่ควรรายงานเพิ่มเติม ได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพของคนในชุมชน - การสูบบุหรี่ และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - การออกกำลังกาย - พฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน - DM/HT - ไข้เลือดออก - ภาวะอ้วน การสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง - ข้อมูลของชุมชนที่เชื่อถือได้ - ชมรมสร้างเสริมสุขภาพ - การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ - มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในชุมชน

เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการ ขั้นตอนการพัฒนากระบวนการ ตัวช่วยในการตรวจประเมินและให้คะแนน ในหมวดกระบวนการ (หมวด 1-6) 1. ตั้งรับปัญหา ( 0- 25%) เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการ Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others การปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกิจกรรมมากกว่าเป็นกระบวนการและส่วนใหญ่จะตอบสนองความต้องการหรือปัญหาเฉพาะหน้า ขาดการกำหนดเป้าประสงค์ที่ดี

เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการ ขั้นตอนการพัฒนากระบวนการ ตัวช่วยในการตรวจประเมินและให้คะแนน ในหมวดกระบวนการ (หมวด 1-6) 2. แนวทางเริ่มเป็นระบบ ( 30 - 45%) เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการ Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others องค์กรอยู่ในขั้นเริ่มต้นของการปฏิบัติการปฏิบัติการด้วยกระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมินผลและการปรับปรุง และเริ่มมีการประสานงานบ้างระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร มีการกำหนดกลยุทธ์และเป้าประสงค์เชิงปริมาณ

เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการ ขั้นตอนการพัฒนากระบวนการ ตัวช่วยในการตรวจประเมินและให้คะแนน ในหมวดกระบวนการ (หมวด 1-6) 3. แนวทางสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน (50 - 65%) เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการ Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others การปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ และมีการประเมินผล อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการปรับปรุง โดยมีการแบ่งปันความรู้และการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กรกระบวนการตอบสนองกลยุทธ์และเป้าประสงค์ที่สำคัญขององค์กร

เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการ ขั้นตอนการพัฒนากระบวนการ ตัวช่วยในการตรวจประเมินและให้คะแนน ในหมวดกระบวนการ (หมวด 1-6) 4. แนวทางที่บูรณาการ (70 - 100%) เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการ Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others การปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ และมีการประเมินผล อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้ดีขึ้น โดยร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่ดับผลกระทบ การวิเคราะห์ นวัตกรรม และการแบ่งปันสารสนเทศและความรู้ ส่งผลให้มีการทำงานข้ามหน่วยงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการและตัววัดในการติดตามความก้าวหน้าของเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และการปฏิบัติการที่สำคัญ

แนวทางการให้คะแนนกระบวนการ องค์ประกอบที่ 1 – 6 แนวทางการให้คะแนนกระบวนการ องค์ประกอบที่ 1 – 6 - แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อ (A) - มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติเป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าอาจแตกต่างกันในบางพื้นที่หรือบางหน่วยงาน (D) - มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูลจริง และเริ่มมีการเรียนรู้ในระดับโรงพยาบาลรวมถึงการสร้างนวัตกรรมบ้าง เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการที่สำคัญ (L) - มีแนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับความต้องการโดยรวมของโรงพยาบาล ตามที่ระบุไว้ในข้อมูลทั่วไปโรงพยาบาลและในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆ (I) 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

แนวทางการให้คะแนน องค์ประกอบที่ 7 - มีการรายงานผลการดำเนินการที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อและผลอยู่ในระดับที่ดี (Le) - แสดงถึงแนวโน้มที่ดีอย่างชัดเจนในเรื่องต่างๆ ที่มีความสำคัญต่อการบรรลุพันธกิจของโรงพยาบาล (T) - ผลการดำเนินการในปัจจุบันบางเรื่องอยู่ในระดับที่ดี เมื่อเทียบเคียงกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม (C) - มีการรายงานผลลัพธ์ที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว ญาติ ชุมชน และกระบวนการเป็นส่วนใหญ่ (I) 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

แนวทางการให้คะแนนกระบวนการหมวด 1-6 กระบวนการ (หมวด 1-6) 0% หรือ 5 % ไม่มีแนวทางอย่างเป็นระบบให้เห็น มีสารสนเทศน้อยและไม่ชัดเจน (A) แทบไม่พบการนำแนวทางที่เป็นระบบสู่การปฏิบัติ (D) ไม่แสดงให้เห็นว่ามีแนวคิดในการปรับปรุง มีการปรับปรุงเมื่อเกิดปัญหา (L) ไม่แสดงให้เห็นว่ามีความสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันในระดับองค์กร แต่ละพื้นที่หรือหน่วยงานดำเนินการอย่างเอกเทศ (I) 10%,15%, 20% หรือ 25 % แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีแนวทางอย่างเป็นระบบที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดพื้นฐานของหัวข้อ (A) การนำแนวทางไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติยังอยู่ในชั้นเริ่มต้นในเกือบทุกพื้นที่หรือหน่วยงาน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการบรรลุข้อกำหนดพื้นฐานของหัวข้อ (D) แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากการตั้งรับปัญหามาเป็นแนวคิดในการปรับปรุงทั่วๆไป(L) มีแนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับพื้นที่หรือหน่วยงานอื่น ส่วนใหญ่เกิดจากการร่วมกันแก้ปัญหา (I) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

แนวทางการให้คะแนนกระบวนการหมวด 1-6 กระบวนการ (หมวด 1-6) 30%,35%, 40% หรือ 45 % แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดพื้นฐานของหัวข้อ (A) มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ถึงแม้ว่าบางพื้นที่หรือบางหน่วยงานเพิ่งอยู่ในขั้นเริ่มต้น (D) แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีแนวทางอย่างเป็นระบบในการประเมินและปรับปรุงกระบวนการที่สำคัญ (L) เริ่มมีแนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับความต้องการพื้นฐานขององค์กร ตามที่ระบุไว้ในโครงร่าง องค์กร และในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆ (I) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

แนวทางการให้คะแนนกระบวนการหมวด 1-6 กระบวนการ (หมวด 1-6) 50%, 55%, 60% หรือ 65 % แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อ (A) มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติเป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าอาจแตกต่างกันในบางพื้นที่หรือบางหน่วยงาน (D) มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูลจริง และเริ่มมีการเรียนรู้ใน ระดับองค์กร รวมถึงการสร้าง นวัตกรรมบ้าง เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการที่สำคัญ (L) มีแนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับความต้องการโดยรวมขององค์กร ตามที่ระบุไว้ในโครงร่างองค์กรและในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆ (I) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

แนวทางการให้คะแนนกระบวนการหมวด 1-6 กระบวนการ (หมวด 1-6) 70%, 75%, 80% หรือ 85 % แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อ (A) มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติเป็นอย่างดีโดยไม่มีความแตกต่างที่สำคัญ (D) กระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูลจริง และการเรียนรู้ในระดับองค์กร รวมถึงการสร้างนวัตกรรมเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการจัดการ มีการแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น อันเป็นผลมาจากการวิเคราะห์และการแบ่งปันระดับองค์กร (L) มีแนวทางที่บูรณาการกับความต้องการขององค์กรในปัจจุบันและอนาคต ตามที่ระบุไว้ในโครงร่างองค์กรและในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆ (I) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

แนวทางการให้คะแนนกระบวนการหมวด 1-6 กระบวนการ (หมวด 1-6) 90%, 95%, หรือ 100 % แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้ออย่างสมบูรณ์ (A) มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติอย่างสมบูรณ์โดยไม่มีจุดอ่อนหรือความแตกต่างที่สำคัญในพื้นที่หรือหน่วยงานใดๆ(D) กระบวนประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูลจริง และการเรียนรู้ในระดับองค์กรด้วยการ สร้างนวัตกรรมเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการจัดการทั่วทั้งองค์กร มีการแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนทั่วทั้งองค์กรว่าการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นและนวัตกรรมมีพื้นฐานจากการวิเคราะห์ และการแบ่งปันระดับองค์กร (L) มีแนวทางที่บูรณาการกับความต้องการขององค์กรในปัจจุบันและอนาคตเป็นอย่างดี ตามที่ระบุไว้ในโครงร่างองค์กรและในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆ (I) Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others

Health Promoting Hospital National Quality Criteria Thank You