เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ภูเก็ต นายวงศกร นุ่นชูคันธ์ นายทวี หอมหวล ว่าง นายเฉลิม รักมาก
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
กิจกรรม การนำกองทุนฯ ไปใช้ประโยชน์ - ช่วยเหลือการบำบัดผู้เสพฯ ที่อยู่ในหมู่บ้าน / ชุมชน - กรรมการชุมชน... - ระเบียบชุมชน... ทุนปัญญา ทุนศรัทธา ทุนขวัญถุง.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
โครงการพัฒนาการศึกษา จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2559 สำนักงาน กศน. จังหวัดสงขลา รับผิดชอบ จำนวน 4 โครงการ ประกอบด้วย.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ติดตามผลการปฏิบัติงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE ต้นแบบระดับเพชร ๒๕62 ต้นแบบระดับทอง ๒๕๕๘ ต้นแบบระดับเงิน ๒๕๕๖

ในการดำเนินการทุกด้านต้องมีการวางแผนและทำตามแผนโดยมีการตรวจสอบ / P = Plan การวางแผน D = Do การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงาน C = Check การตรวจสอบผลการดำเนินงาน ในแต่ละชั้นตอนของแผนงาน A = Action การปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา ในการดำเนินการทุกด้านต้องมีการวางแผนและทำตามแผนโดยมีการตรวจสอบ / การประเมินผลการดำเนินงานเพื่อกำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติและการปรับปรุง พัฒนาอย่าต่อเนื่อง

กลยุทธ์แห่งล้านนา มุ่งสู่ต้นแบบระดับเพชร

กลยุทธ์แห่งล้านนา มุ่งสู่ต้นแบบระดับเพชร L: Learning คือ สร้างองค์ความรู้ สู่การเรียนรู้ของเครือข่าย A: Activate คือ กระตุ้นการก่อตั้งชมรม กระตุ้นการสร้างกระแส ต่อต้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง N: Native คือ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ทุกท้องถิ่น ทุกชนกลุ่มชาติพันธุ์ N: Network คือ สร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมาย A : All for one คือ ทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมใจเป็นหนึ่ง มุ่งสู่จังหวัดต้นแบบระดับเพชร กลยุทธ์แห่งล้านนา มุ่งสู่ต้นแบบระดับเพชร

โครงสร้างการบริหารจัดการระดับจังหวัด ในสถานศึกษา ผู้ว่าราชการจังหวัด ในชุมชน ในสถานประกอบการ คณะกรรมการอำนวยการ ในหน่วยงานกระทรวงยุติธรรม คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวัดเชียงใหม่ ด้านประชาสัมพันธ์ ฝ่ายเลขานุการ ระดับอำเภอ ระดับตำบล

แผนงาน โครงการ ยุทธศาสตร์ ๑ ยุทธศาสตร์ ๒ ยุทธศาสตร์ ๓ การรณรงค์ปลุกจิตสำนึก และสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชน การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ขับเคลื่อนชมรมฯ กิจกรรมรณรงค์/สร้างกระแส พัฒนาศักยภาพ คืนคนดีสู่สังคม/ศูนย์เพื่อนใจฯ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่าย TO BE NUMBER ONE พัฒนานวัตกรรม พัฒนาองค์ความรู้ พัฒนาวิชาการ และประเมินผล การบริหารจัดการโครงการ

ตัวชี้วัด โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2560 ทุกอำเภอมีการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE สถานศึกษาขยายโอกาส/มัธยมศึกษา ร้อยละ 60 ชุมชน ร้อยละ 60 สถานประกอบการ ร้อยละ 50 ร้อยละ 90 ของวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 6 - 24 ปี เป็นสมาชิก TO BE NUMBER ONE อปท. ทุกแห่งสนับสนุนงบประมาณให้เกิดการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด TO BE NUMBER ONE ของเยาวชนและประชาชนในพื้นที่

GAP การประกวดชมรมฯ ประเภทสถานศึกษาและชุมชน ยังไม่สามารถ เข้ารอบประเทศและชมรมฯ ประเภทสถานประกอบการ 2 แห่ง 2. การขับเคลื่อนของเจ้าภาพหลักไม่เข้มข้นและไม่ต่อเนื่อง 3. การจัดตั้งชมรมฯ ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย 4. ระบบฐานข้อมูลในระดับอำเภอไม่มี 5. ไม่เกิดการบูรณาการการดำเนินงานระดับพื้นที่

Essential Task ปี 2560 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. มีคณะกรรมการโครงการ TO BE NUMBER ONE ต.ค. 59 2. ทีมวิทยากรระดับจังหวัด (TO BE STAR TEAM) 3. มีแผนพัฒนาระบบการขับเคลื่อนโครงการฯ พ.ย. 59 4. มีข้อมูลการดำเนินงานชมรมฯ 5. มีกรรมการในระดับพื้นที่/ชมรม / 6. มีกองทุน 7. ยุทธศาสตร์ที่ 1 มีการรณรงค์ปลูกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยม 8. ยุทธศาสตร์ที่ 2 มีการสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจฯ 9. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่าย 10. มีชมรม TO BE NUMBER ONE ผ่านตามเกณฑ์ ก.ค. – ส.ค. 60 11. ผลการประเมินชมรมฯ ก.ย. 60 12. Goal 13. วิเคราะห์ GAP, นำเสนอคณะกรรมการ 14. มีระบบควบคุมกำกับ

กรรมการ แต่งตั้งคณะกรรมการฯระดับอำเภอ ทำแผนปฏิบัติการประจำปี ประชุมคณะกรรมการในวาระร่วมของ ศอ.ปส.จ.ชม ส่งรายงานผลการประชุมคณะกรรมการฯให้ สสจ. ภายในวันที่ 1 ของทุกเดือน ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ รวบรวมและประชาสัมพันธ์นวัตกรรมและองค์ความรู้ของอำเภอ สร้างองค์ความรู้ที่เกี่ยวเนื่องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของอำเภอ จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ต้นแบบในอำเภอ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 รณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด คัดเลือกทีม TO BE NUMBER ONE TEEN DANCERCISE ระดับอำเภอ เข้าประกวดระดับจังหวัดในวันที่ 5 สิงหาคม 2560 คัดเลือกเยาวชนต้นแบบเก่งและดี (TO BE NUMBER ONE IDOL) ในระดับอำเภอ เข้าประกวดระดับจังหวัดในวันที่ 5 สิงหาคม 2560 คัดเลือกชมรม TO BE NUMBER ONE เข้าร่วมประกวดผลการดำเนินงานโครงการฯ ในวันที่ 10 สิงหาคม 2560

ยุทธศาสตร์ที่ 1 รณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (ต่อ) รับสมัครสมาชิกใหม่หรือประชาสัมพันธ์ชมรม ทำฐานข้อมูลสมาชิก - จัดกิจกรรมรงค์ประชาสัมพันธ์ซึ่ง สามารถบูรณาการร่วมกับงานอื่น ๆ ในอำเภอ เช่น ดนตรี, กีฬา, กิจกรรมสร้างสรรค์, สวมเสื้อ TO BEฯ ทุกวันศุกร์

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชน จัดค่ายพัฒนาแกนนำศูนย์เพื่อนใจในอำเภอ จัดค่ายพัฒนาสมาชิกชมรมให้สามารถบริการให้คำปรึกษาในศูนย์เพื่อนใจ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชน จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจในสถานประกอบการและสถานศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 3 มีการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จัดกิจกรรมและพัฒนาศักยภาพในเครือข่ายเดิม สร้างเครือข่ายใหม่ทั้งใน/นอกอำเภอ เป็นสถานที่ศึกษาดูงานของเครือข่ายทั้งใน/นอกอำเภอ/จังหวัด/ต่างจังหวัด เป็นวิทยากรแก่เครือข่ายทั้งใน/นอก/จังหวัด/ต่างจังหวัด มีระบบการจัดการความรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด