หลักการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ อาจารย์ นารีนารถ ปานบุญ
คำอธิบายรายวิชา ประวัติความเป็นมา พัฒนาการและ แนวโน้ม ของงานด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ วิทยาการด้านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ในบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ความหมาย และลักษณะงาน องค์กรทางด้าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รวมทั้ง อิทธิพลและผลกระทบของสื่อวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์
คำอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์ แนวการสอน สัปดาห์ที่ ๒ สัปดาห์ที่๑ คำอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์ แนวการสอน กิจกรรมการเรียน การประเมินผล สัปดาห์ที่ ๒ ความรู้เกี่ยวกับงานวิทยุกระจายเสียง ความหมาย คุณลักษณะเฉพาะ ความสำคัญและลักษณะงาน ของวิทยุกระจายเสียง
สัปดาห์ที่ ๓ สัปดาห์ที่ ๔ สัปดาห์ที่ ๕ ประวัติ และวิวัฒนาการของวิทยุกระจายเสียงในต่างประเทศ และในประเทศไทย สัปดาห์ที่ ๔ แนวคิด ความหมายและความสำคัญ เรื่องบทบาทหน้าที่ของวิทยุกระจายเสียง อิทธิพลของสื่อวิทยุกระจายเสียง สัปดาห์ที่ ๕ ความหมาย ประเภทรายการวิทยุกระจายเสียงและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
สัปดาห์ที่ ๖ ระบบการทำงานของ วิทยุกระจายเสียง ระบบ AM ระบบ FM ระบบอินเตอร์เน็ต ระบบดิจิทัล กระบวนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง ขั้นวางแผนการผลิตรายการ ขั้นเตรียมการผลิตรายการ ขั้นดำเนินการผลิตรายการ ขั้นการประเมินผลรายการ
ผังองค์กรในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง สัปดาห์ที่ ๗ การดำเนินกิจการขององค์กรวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย องค์กรวิทยุกระจายเสียง ผังองค์กรในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง ตำแหน่งสำคัญในองค์กรผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง บุคลากรในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง การดำเนินกิจการวิทยุกระจายเสียง แนวโน้มการดำเนินกิจการวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย
สัปดาห์ที่ ๙ กำเนิดวิทยุโทรทัศน์ วิวัฒนาการของวิทยุโทรทัศน์ วิวัฒนาการของวิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย สัปดาห์ที่ ๑๐ สื่อวิทยุโทรทัศน์กับผลกระทบต่อสังคมไทย - ผลกระทบเชิงบวก - ผลกระทบเชิงลบ สัปดาห์ที่ ๑๑ รู ปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ - กระบวนการผลิตงานวิทยุโทรทัศน์ - Preproduction - Production - Postproduction
สัปดาห์ที่๑๒ ผังรายการวิทยุโทรทัศน์ - การจัดลำดับความนิยม - เชิงคุณภาพ - เชิงปริมาณ สัปดาห์ที่ ๑๓ ตำแหน่งหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากรในงานวิทยุโทรทัศน์ - การบริหารจัดการสถานีวิทยุโทรทัศน์ สัปดาห์ที่ ๑๔ หน่วยงานกำกับดูแลกิจการวิทยุโทรทัศน์ - กฎหมายและจริยธรรมสำหรับสื่อวิทยุโทรทัศน์
สัปดาห์ ที่ ๑๕ พัฒนาการงานวิทยุโทรทัศน์ในอนาคต Social media / TV online สัปดาห์ที่ ๑๖ กิจกรรมนำเสนอ / อภิปราย ประมวลความรู้รายวิชา
การประเมินผล ๑๐๐ คะแนน การสอบกลางภาค ๓๕ คะแนน รายงาน ๒๐ คะแนน การประเมินผล ๑๐๐ คะแนน การสอบกลางภาค ๓๕ คะแนน รายงาน ๒๐ คะแนน การสอบปลายภาค ๓๕ คะแนน จิตพิสัย (คะแนนการมีส่วนร่วม) ๑๐ คะแนน
การตัดเกรดตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา . อักษร ผลการศึกษา ช่วงคะแนน ค่าระดับคะแนน A ดียอดเยี่ยม 86.00-100 4.00 A- ดีเยี่ยม 82.00-85.00 3.75 B+ ดีมาก 78.00-81.00 3.50 B ดี 74.00-77.00 3.00 B- ค่อนข้างดี 70.00-73.00 2.75 C+ ปานกลางค่อนข้างดี 66.00-69.00 2.50 C ปานกลาง 62.00-65.00 2.00 C- ปานกลางค่อนข้างอ่อน 58.00-61.00 1.75 D+ ค่อนข้างอ่อน 54.00-57.00 1.50 D อ่อน 50.00-53.00 1.00 D- อ่อนมาก 46.00-49.00 0.75 F ตก 0.00-45.00 0.00