การผลิตชุดน้ำยาวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสซิกา โดยเทคนิค Real-time RT-PCR สุมาลี ชะนะมา 8 พฤศจิกายน2559
หัวข้อบรรยาย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เกณฑ์ให้คะแนน แนวทางประเมินผล แผนปฏิบัติการและเป้าหมาย
หลักการและเหตุผล ฝ่ายอาโบไวรัสให้บริการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสซิกา วิธี Real-time RT-PCR ตั้งแต่ กุมภาพันธ์ 2559 ถ่ายทอดเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะห์ให้ศวก. 14 แห่ง วันที่ 28 มิถุนายน 2559 ศวก.เริ่มให้บริการตรวจประมาณตุลาคม 2559 ความต้องการส่งตัวอย่างตรวจมีมาก ประมาณ 20,000 ตัวอย่างต่อปี พบปัญหาขั้นตอนการจัดซื้อจัดหาน้ำยาตรวจวิเคราะห์ การทดสอบไพรเมอร์โพรบแต่ละรุ่น ใช้เวลามาก
วัตถุประสงค์ เพื่อผลิตชุดน้ำยาวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสซิกา โดยเทคนิค Real-time RT-PCR เป็นแบบพร้อมใช้งาน ประกอบด้วย -ชุดสกัดสารพันธุกรรมชนิด Viral RNA -ชุดน้ำยาเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมชนิด RNA
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน เกณฑ์ 1 จัดทำแผนปฏิบัติการ 2 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ จัดทำเอกสารกำกับชุดน้ำยา 3 ได้ชุดน้ำยาต้นแบบ 4 จัดส่งชุดน้ำยาให้ห้องปฏิบัติการเครือข่าย 5 จัดทำโปรแกรมทดสอบความชำนาญ ประเมินผลตรวจของห้องปฏิบัติการเครือข่าย
แนวทางประเมินผล เกณฑ์ให้คะแนน แนวทางประเมินผล 1.จัดทำแผนปฏิบัติการ ได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร ได้รับอนุมัติแผนปฏิบัติการจากอธิบดี อนุมัติ 17 ต.ค.59 2. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ จัดทำเอกสารกำกับชุดน้ำยา หลักฐานแสดงบรรจุภัณฑ์ เอกสารกำกับชุดน้ำยา 3. ได้ชุดน้ำยาต้นแบบ หลักฐานแสดงชุดน้ำยาต้นแบบ 4.จัดส่งชุดน้ำยาให้ห้องปฏิบัติการเครือข่าย หลักฐานแสดงการจัดส่งชุดน้ำยา 5.จัดทำโปรแกรมทดสอบความชำนาญการตรวจไวรัสซิกา และประเมินผลตรวจของห้องปฏิบัติการเครือข่าย โปรแกรมทดสอบความชำนาญการตรวจไวรัสซิกา สรุปการประเมินผลตรวจของห้องปฏิบัติการเครือข่าย
แผนปฏิบัติการ ลำดับ แผนการปฏิบัติ/กิจกรรม ตค. พย. ธค. มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. สัดส่วน งาน (ร้อย ละ) 1 ประมาณการค่าใช้จ่าย เสนอของบประมาณ / 5 2 จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ 3 ผลิตไพรเมอร์โพรบ ทดสอบ 10 4 แบ่งบรรจุน้ำยา รวมเป็นชุดบรรจุในกล่องใหม่ 20 ทดสอบความใช้ได้ของชุดน้ำยาแต่ละรุ่นที่ผลิต 6 จัดส่งชุดน้ำยาให้ห้องปฏิบัติการเครือข่าย 7 จัดทำโปรแกรมทดสอบความชำนาญการตรวจไวรัสซิกา 8 ประเมินผลตรวจของห้องปฏิบัติการเครือข่าย
เป้าหมาย จำนวนชุดน้ำยาที่ผลิตได้ 300 ชุดๆละ 50 ตัวอย่าง จำนวนชุดน้ำยาที่ผลิตได้ 300 ชุดๆละ 50 ตัวอย่าง รวม 15,000 ตัวอย่าง จำนวนห้องปฏิบัติการเครือข่ายที่ผ่านการทดสอบความชำนาญ 14 แห่ง