NCDs การจัดทำแผนงาน ปี 2561 16 สิงหาคม 2560.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
แผนงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ปี 2560
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การพัฒนาระบบบริการ NCD clinic plus.
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
ทิศทางการพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2559
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การป้องกันควบคุมโรค NCD
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

NCDs การจัดทำแผนงาน ปี 2561 16 สิงหาคม 2560

ผลการดำเนินงาน ปี 2558 – 2560 (ข้อมูลถึงเดือนสิงหาคม) ผลการดำเนินงาน ปี 2558 – 2560 (ข้อมูลถึงเดือนสิงหาคม) ตัวชี้วัด ผลงานปี 58 ผลงานปี 59 ผลงานปี 60 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง เบาหวาน ร้อยละ 80 47.94 234,682/508,304 76.33 396,572/519,582 84.90 553,278/651,700 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ความดันโลหิตสูง 44.93 278,578/619,970 72.42 460,583/636,023 85.52 451,033/527,409 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จาก pre-diabetes เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2.40 1.63 848/52,094 อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 เป้าหมายไม่เกิน 8,940 ราย 5,683 9,410 8,216 อัตราป่วยความดันหิตสูงรายใหม่ใหม่ลดลง ร้อยละ 2.5 เป้าหมายไม่เกิน 23,342 ราย 11,861 23,941 20,713

ร้อยละการควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์ ปี 2560 ร้อยละการควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์ ปี 2560 โรค ระดับประเทศ เขต 1 เชียงใหม่ เบาหวานที่คุมได้ เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% หรือ มากกว่า 40% ผู้ป่วยเบาหวานปี 2560 จำนวน 71,826 คน ร้อยละ 21.70 (576,350 /2,655,904 ) ร้อยละ 15.97 (41,464/259,670) ร้อยละ 16.06 (11,544/71,862 ) ความดันโลหิตสูงที่คุมได้ เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% หรือ มากกว่า 50% ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ปี 2560 จำนวน 199,564 คน ร้อยละ 34.82 (1,943,249/5,580,176) ร้อยละ 29.45 (206,455/700,958) ร้อยละ 20.85 (41,612/199,564) ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

ผลการดำเนินงาน ปี 2558 – 2560 (ข้อมูลถึงเดือนสิงหาคม) ผลการดำเนินงาน ปี 2558 – 2560 (ข้อมูลถึงเดือนสิงหาคม) ตัวชี้วัด ผลงานปี 58 ผลงานปี 59 ผลงานปี 60 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด CVD risk ร้อยละ 80 49.95 42,447/84,987   73.53 62,790 /85,394 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา (มากกว่าร้อยละ 60) 23.82 15,831/66,453 56.15 38,668/68,868 58.18 41,806/71,862 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า (มากกว่าร้อยละ 70) 25.26 16,784/66,453 50.25 34,609 /68,868 52.91 38,020 /71,862

ป่วยแล้วอยู่อย่างมีคุณภาพ อายุยืนยาว เป้าหมาย NCD GAP ลดป่วยใหม่ ป่วยแล้วอยู่อย่างมีคุณภาพ อายุยืนยาว การทำงานร่วมกับความตระหนัก ภาระ ผลกระทบความรุนแรงโรค ความชัดเจนของเป้าหมาย กระบวนการทำงานและการประเมินผล สรุปบทเรียนและ สนับสนนขวัญกำลังใจคนทำงานภาระมาก ทำแล้วผลงานไม่ขึ้น HDC มาตรการ พัฒนางาน NCDs คุณภาพร่วมกับชุมชน DPAC DHB พัฒนา SOP แนวทางการทำงานให้ชัดเจนการจัดการแบ่งกลุ่มตามปิงปองจราจร 7 สีในคลินิก การสนับสนุน self care ผู้ป่วยรายบุคคลและรายกลุ่ม Self help group กลุ่มผู้ป่วยในชุมชน ขยายเครือข่าย จิตอาสา พระสงฆ์ ตัวชี้วัด ปี 2560 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จาก pre-diabetes เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2.40 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ร้อยละ 2.5 และเบาหวานรายใหม่ ลดลง ร้อยละ 5 (ปี 60) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2559 หรือ มากกว่า 40% ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 2559 หรือ มากกว่า 50% ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา (มากกว่าร้อยละ 60) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า (มากกว่าร้อยละ 60)

กลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไป(Prevention) แผนการดำเนินงาน/กิจกรรม 1.การคัดกรอง เป้าหมาย>90% จังหวัดกำหนด time line การคัดกรองให้เสร็จในอย่างช้าไตรมาส 2 หลัจากนั้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ไตรมาส 1 ผลงาน 50% ไตรมาส 2 ผลงาน 50% อำเภอ จัดแผนวัสดุ,strip คัดกรองโดยงบ PPB 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย เสี่ยง>= 80% เสี่ยงสูง 100% เสี่ยงสูงเบาหวาน FBS 110 – 125 +อ้วน/กรรมพันธุ์ +pre DM >=3 ปี เสี่ยงสูงความดัน +อ้วน/กรรมพันธุ์ +pre DM >=3 ปี จังหวัด -สร้างโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นมาตรฐานของจังหวัด - พัฒนาระบบการวัด ประเมิน ความสำเร็จของกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อำเภอ -ประเมินปัญหากลุ่มตามลักษณะอายุ กลุ่ม พื้นที่ -จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเฉพาะพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย (DM ในเด็ก ,ในโรงงาน) 3.การสื่อสารสาธารณะ จังหวัด สร้าง-สร้างสื่อบุคคล เวทีบุคคลต้นแบบ จิตอาสา พระสงฆ์ -สื่อmedia ระดับจังหวัด อำเภอ นำเนื้อหา สื่อไปเผยแพร่ กระตุ้นความตระหนัก สนับสนุนบุคคลที่เป็นอาสาสมัคร สื่อบุคคล 4.จัดการเครือข่าย สิ่งแวดล้อม - ชุมชนนำร่องการจัดการโรค NCD ชุมชนสุขภาวะ กระแสผู้บริโภค (กำหนดเป้าหมาย การติดตาม ก่อนทำงาน :คณะกรรมการชัดเจน ระหว่างทำงาน :กระบวนการ) 3เดือน 6 เดือน 9 เดือน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ : สิ้นปีงบประมาณ 1อำเภอ 1 ชุมชน

ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2560 ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองร้อยละ 90 ผลงานรวม ร้อยละ 84.90 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

แผนการดำเนินงาน/กิจกรรมหลัก เป้าหมายกลุ่มป่วย แผนการดำเนินงาน/กิจกรรมหลัก เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง จัดการภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า จังหวัด : กำหนดTime lineการคัดกรอง , monitor ผ่าน CMBIS, HDC อำเภอ : วางแผน จัดทำโครงการ 2.คุณภาพการดูแลรักษา เป้าหมาย HbA1C< 7 % BP < 140/90 mm.Hg - พัฒนา CPG / system manager - พัฒนาบุคลากร Health coaching อำเภอ : เทคโนโลยี /โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความเชื่อมโยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ บุหรี่ : การประเมินตนเองของผู้ป่วย SMBG , SMBP อำเภอ :สร้างความรู้ ทักษะ สนับสนุนความมั่นใจ ครอบครัว เครือญาติ กลุ่ม ชมรม ระบบ และคนทำงาน ผู้ป่วย สิ่งแวดล้อมในครัวเรือน และชุมชน

thank you

ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2560 ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองร้อยละ 80 ผลงานรวม ร้อยละ 84.90 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

เป้าหมายการคัดกรองร้อยละ 80 ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองร้อยละ 80 ผลงานรวม ร้อยละ 85.52 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จาก pre-diabetes ปี 2560 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2.40 ผลงานรวม ร้อยละ 1.63 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 จากปี 2559 อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 จากปี 2559 เป้าหมาย ปี 2560 = 8,940 ผลงาน ปี 2560 = 8,216 เป้าหมายผู้ป่วย DM รายใหม่ ปี 60 ข้อมูลผู้ป่วย DM รายใหม่ ปี 2560 ที่มา HDC : 14 สิงหาคม 2560

อัตราป่วยความดันหิตสูงรายใหม่ใหม่ลดลง ร้อยละ 2.5 จากปี 2559 อัตราป่วยความดันหิตสูงรายใหม่ใหม่ลดลง ร้อยละ 2.5 จากปี 2559 เป้าหมาย ปี 2560 = 23,342 ผลงาน ปี 2560 = 20,713 เป้าหมายผู้ป่วย HT รายใหม่ ปี 60 ข้อมูลผู้ป่วย HT รายใหม่ ปี 2560 ที่มา HDC : 14 สิงหาคม 2560

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ปี 2560 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ปี 2560 เป้าหมายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% หรือ มากกว่า 40% ผลงานรวม ร้อยละ 16.06 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปี 2560 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปี 2560 เป้าหมายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% หรือ มากกว่า 50% ผลงานรวม ร้อยละ 20.85 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

ผลงานรวม ร้อยละ 73.53 เป้าหมายร้อยละ 80 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ปี 2560 เป้าหมายร้อยละ 80 ผลงานรวม ร้อยละ 73.53 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ปี 2560 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองมากกว่าร้อยละ 60 ผลงานรวม ร้อยละ 58.18 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ปี 2560 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองมากกว่าร้อยละ 70 ผลงานรวม ร้อยละ 52.91 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560

GAP การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การคัดกรอง ควบคุมป้องกันโรค ยังไม่ focusไปยังพื้นที่มีประชากรเสี่ยงสูง และผู้ที่ไม่เคยคัดกรองเป็นผลให้มีผู้ป่วยรายใหม่ต่อเนื่องในพื้นที่ พบผู้ป่วยโรคเบาหวาน เด็กและวัยรุ่น จาก รพช. Refer มายัง รพ.ชุมชน 13 ราย อัตราป่วยโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น อัตราตายลดลงทำให้มีภาระในการดูแลผู้ป่วยหลัง Stroke ในระยะยาวมากขึ้น การรณรงค์สร้างความตระหนักในชุมชนยังน้อย การพัฒนาระบบการดูแลรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การสนับสนุนให้ผู้ป่วยดูแลตนเองยังในสถานบริการและในชุมชนยังไม่เห็นผลชัดเจน (Self Monitoring Blood Glucose /BP , Self Help Groupในชมรมผู้ป่วย) ผลงานบริการ ในหน่วยบริการ(Activity)และ HDC (ผลงาน Coverage)ต่างกันมาก เนื่องจาก มีประชากรในเขตไปรับบริการ ที่อื่น, การลงข้อมูล typeประชากรไม่ถูกต้อง

Program Evaluation Review Technics(PERT) : NCD ไตรมาส 4 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 จัดอบรม ประชาชนทั่วไปกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสม 1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น 2.ผลการคัดกรองภาวะเสี่ยงไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 3.ประชาชนขาดความตระหนักสัญญานเตือนภัยและอันตรายของโรค 4.นโยบาย หมู่บ้าน/รร.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดประชาคมตำบล สร้างมาตรการทางสังคม มีตำบลจัดการสุขภาพ มีคณะกรรมการขับเคลื่อน -EMS และศูนย์ฟื้นฟูชุมชน -วัสุดอุปกรณ์คัดกรอง ทีมตำบลนำ SOP ไปปฎิบัติ หมู่บ้านจัดการสุขภาพ สร้าง อฉช. การสื่อสารความเสี่ยง ทำแผนชุมชน Goal ผลงานตามเกณฑ์เป้าหมายของ PA -นักบริบาลชุมชม - รร.อสม SOP ชุมชน จัดอบรม - อสค. - อสม. ประเมินตนเอง/ทีมประเมิน/ ตรวจสอบความถูกต้อง เยี่ยมบ้าน , จัดกิจกรรมสุขภาพ มีคลินิก NCDคุณภาพ ดำเนินงานตามแนวปฎิบัติ ทบทวนคณะกรรมการ ถ่ายทอดนโยบาย สร้างแผน คุม DM , HT ได้มีพฤติกรรมเหมาะสม สรุปผลการประเมิน ขยายผล Best tice ประเมินตนเอง/ทีมประเมิน ประชุมเชิงปฎิบัติการ คณะกรรมการ NCD Bord มีแผนงานบูรณาการระดับจังหวัด/อำเภอ มีแนวทางปฎิบัติการ (SOP) ตามปิงปอง 7 สี (กลุ่มปกติ , เสี่ยง , ป่วย) มีผลการประเมิน /แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีคลินิก DPAC สุขภาพ ดำเนินงานตามแนวปฎิบัติ ระบบการส่งต่อมีประสิทธิภาพ ทีมสหวิชาชีพขับเคลื่อน ทีมสหวิชาชีพขับเคลื่อน ประเมินตนเอง/ทีมประเมิน ดำเนินงานตามแนวปฎิบัติ สรุปผลการประเมิน มีคลินิก CKDคุณภาพ ผู้ป่วย CKD 1-3 , 4-5 มีพฤติกรรมเหมาะสมได้รับการดูแล ผู้บริหารชี้แจงให้เกิด ทีมสหวิชาชีพขับเคลื่อน SOP การจัดบริการคลีนิก ประเมินตนเอง/ทีมประเมิน ผลการประเมินไม่บรรลุ Goal ประชุมเชิงปฎิบัติการ อบรม ติดตาม พัฒนาระบบฐานข้อมูล มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ มีคณะกรรมการ NCD จังหวัด/อำเภอ รับทราบข้อมูลการดำเนินงาน นำเสนอข้อมูล มีทีมประเมิน ประชุมพัฒนาทีม ทีมประเมินมีคุณภาพ ประชุมจัดทำแผน แผนการประเมิน ดำเนินการประเมิน ทบทวนแผน