การสื่อสารสารสนเทศ: การเขียนรายงานทางวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
รูปแบบรายงาน.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
7 บทที่ การเรียบเรียงเอกสาร และการนำเสนอเอกสาร GEL1103
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
รองศาสตราจารย์สนิท สัตโยภาส
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
การขอโครงการวิจัย.
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ความหมายของเรียงความ
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การค้นหาข้อมูลวิจัย ครั้งที่ 1
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Google Scholar คืออะไร
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสารสารสนเทศ: การเขียนรายงานทางวิชาการ การสื่อสารสารสนเทศ: การเขียนรายงานทางวิชาการ ผศ.ดร.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

รายงานทางวิชาการ รายงาน คือ งานเขียนของนิสิตนักศึกษาที่เรียบเรียงขึ้นจาก การศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่กำหนดเพื่อเสนอต่อผู้สอน โดยถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนของวิชานั้นๆ โดยต้องวางรูปแบบของรายงานให้เป็นไปตามแบบแผนที่ สถานศึกษานั้นๆ กำหนด

วัตถุประสงค์ของการเขียนรายงาน เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้า จากแหล่งสารสนเทศต่างๆด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอย่างกว้างขวาง และลึกซึ้งกว่าที่เรียนในชั้น เรียน เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ที่รวบรวมจากแหล่งต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวม เรียบเรียงความรู้อย่างมีระบบ มีเหตุผล และมีวิจารณญาณ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ในการนำเสนอความรู้ ความคิด ออกมาเป็นรายงานวิชาการที่มีคุณภาพ

ประเภทของรายงานวิชาการ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term paper) 3. สารนิพนธ์ (Master’s project) 4. ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ (Thesis / Dissertation) รายงานการค้นคว้าวิจัย (Research report)

ลักษณะของรายงานทางวิชาการที่ดี เนื้อหาถูกต้องและทันสมัย เนื้อหาสมบูรณ์ครบถ้วน มีขอบเขตครอบคลุมตามหัวข้อของรายงานวิชาการ การจัดลำดับเนื้อหาดี มีการเรียงลำดับเนื้อหาเป็นไปอย่างเหมาะสมต่อเนื่อง และ สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ ไม่สับสน ใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้องเหมาะสม และควรใช้สำนวนภาษาของผู้ทำรายงานวิชาการ มีการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ ที่เชื่อถือได้อย่างกว้างขวางและ เพียงพอ

ลักษณะของรายงานทางวิชาการที่ดี มีการเสนอแนวคิดของตนเอง มีส่วนแสดงให้เห็นว่าผู้ทำรายงานได้สอดแทรกความคิด ความรู้ และ ประสบการณ์ในเรื่องต่างๆ เช่น คำสรุป ข้อเสนอแนะและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ต่างๆ มีรูปแบบในการเขียนดี แต่ละหัวข้อที่เขียนมีความชัดเจน เข้าใจง่าย มีการย่อหน้า เว้นวรรคตอน และ การอ้างอิงที่เหมาะสม รวมทั้งมีส่วนประกอบอื่น เช่น ภาพประกอบ ตาราง แผนภูมิ เพื่อช่วยในการ นำเสนอข้อมูลให้มีความชัดเจน และเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น มีคุณค่าทางวิชาการ เป็นบทนิพนธ์ที่ให้ประโยชน์ทั้งต่อผู้ทำบทนิพนธ์ในการพัฒนาความรู้และบุคคล ทั่วไปที่สนใจ มีความถูกต้องตามรูปแบบของบทนิพนธ์ที่สถาบันการศึกษากำหนด

ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ 1. ส่วนประกอบตอนต้นหรือส่วนนำ 1.1 ปกนอก 1.2 ใบรองปก 1.3 หน้าปกใน 1.4 คำนำ 1.5 สารบัญ

ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ 2. ส่วนเนื้อเรื่อง 2.1 ส่วนเนื้อหา 2.1.1 บทนำ 2.1.2 เนื้อเรื่อง 2.1.3 บทสรุป

ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ 2. ส่วนเนื้อเรื่อง 2.2 ส่วนประกอบในเนื้อหา 2.2.1 อัญประภาษ หรือ อัญพจน์ คือ ข้อความที่คัดลอกมา 2.2.2 การอ้างอิง คือ การอ้างอิงในเนื้อหา 2.2.3 ตาราง 2.2.4 ภาพประกอบ

ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ 3. ส่วนประกอบตอนท้าย 3.1 ส่วนรายการเอกสารอ้างอิง (References)/ บรรณานุกรม (Bibliography) 3.2 ภาคผนวก (Appendix)

การพิมพ์รายงาน 1. ใช้กระดาษขนาดมาตรฐาน A4 เขียนหรือพิมพ์ข้อมูลเพียงหน้าเดียว ใช้อักษร Angsana New (ขนาดจะกำหนดให้ในรายละเอียดอีกครั้ง) 2. การเว้นระยะการพิมพ์ 2.1 จากขอบด้านบน และขอบด้านซ้ายเว้น 1.5 นิ้ว สำหรับบทใหม่ เว้นจาก ขอบด้านบน 2 นิ้ว 2.2 ขอบด้านล่างและขอบด้านขวาเว้น 1 นิ้ว 2.3 ระยะห่างจากขอบกระดาษด้านบนถึงเลขหน้า 1 นิ้ว  

การพิมพ์รายงาน 3. การย่อหน้า 3. การย่อหน้า 3.1 บรรทัดแรกของย่อหน้า เว้นระยะจากขอบกระดาษด้านซ้ายเข้ามาอีก 1 Tab หรือ 0.5 นิ้ว ส่วนบรรทัดต่อมาจนย่อหน้าให้พิมพ์ชิดขอบด้านซ้าย 3.2 หัวข้อระดับต่างๆในรายงาน อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ คือ หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย หัวข้อทุกระดับนี้ ควรใส่เลขกำกับหัวข้อ และจัดรูปแบบ ของหัวข้อให้แตกต่างกัน  

การพิมพ์รายงาน ส่วนของรายงาน 4. การลำดับเนื้อหาและเลขหน้า เลขหน้า 4. การลำดับเนื้อหาและเลขหน้า   ส่วนของรายงาน เลขหน้า การระบุเลขหน้า พิมพ์ ไม่พิมพ์ ส่วนนำหรือส่วนต้นของรายงาน   - ปกนอก -  - ปกใน - ใบรองปก - คำนำ ก - สารบัญ ข - หน้าถัดไป ค

การพิมพ์รายงาน ส่วนของรายงาน เลขหน้า การระบุเลขหน้า พิมพ์ ไม่พิมพ์ ส่วนเนื้อเรื่อง   - ลำดับตั้งแต่หน้าแรกของเนื้อเรื่อง จนถึงหน้าสุดท้าย (ถ้ามีแบ่งเป็นบทๆ หน้าแรกของแต่ละบท ไม่ต้องระบุเลขหน้า) (1, 2, ..., 30) - หน้าแรก 1 -  - หน้าถัดไป (2,...,30) ส่วนรายการอ้างอิง (บรรณานุกรม) - ลำดับหน้าต่อจากส่วนเนื้อเรื่อง (31, 32, ..., 40) 31 32 ภาคผนวก - ลำดับหน้าต่อจากรายการอ้างอิง (41, 42, ..., 50) 42 43,..., 50

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน การเลือกเรื่องหรือหัวข้อที่จะศึกษา การสำรวจแหล่งสารสนเทศ การวางโครงเรื่อง การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศ การอ่านและจดบันทึก การเรียบเรียงรายงาน การจัดทำบรรณานุกรม การตรวจสอบความถูกต้องและความเรียบร้อย

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน 1. การเลือกเรื่องหรือหัวข้อที่จะศึกษา เลือกเรื่องที่ผู้ทำสนใจ มีความรู้อยู่บ้างและอยากศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติม เลือกเรื่องที่สามารถค้นคว้าหาข้อมูลประกอบการเขียนได้อย่าง เพียงพอ ควรคำนึงถึงเวลาที่ผู้สอนกำหนดให้ส่งรายงาน

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน 2. การสำรวจทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสิ่งตีพิมพ์ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสืออ้างอิง วารสาร สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องอื่นๆ สิ่งพิมพ์รัฐบาล วิทยานิพนธ์ จุลสาร กฤตภาค และรายงาน ทรัพยากรสิ่งไม่ตีพิมพ์ หรือโสตทัศนวัสดุ ได้แก่ เทปบันทึกภาพ เทปบันทึกเสียง ภาพยนตร์ สไลด์ ฟิล์มสตริป แผ่นโปร่งใส และวัสดุย่อส่วน ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ต้องบอกรับเป็นสมาชิก ฐานข้อมูลออนไลน์เสรีบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือสถาบัน บริการสารสนเทศเป็นผู้จัดทำขึ้น แผ่นเสียงระบบดิจิทัล และแผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน 3. การวางโครงเรื่อง 3.1 กำหนดกรอบของเรื่องที่ต้องการศึกษาค้นคว้า โดยระบุส่วนต่างๆของเนื้อหา 3.2 จัดสัดส่วนของเนื้อหาที่จะนำเสนอ 3.3 จัดลำดับเนื้อหาเป็นหัวข้อ ในแต่ละหัวข้อมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน 3.4 โครงเรื่องประกอบด้วยบทนำ หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย และบทสรุป 3.5 กำหนดชื่อหัวข้อให้กะทัดรัดได้ใจความ ครอบคลุมเนื้อหาที่จะนำเสนอ 3.6 ไม่ควรแบ่งหัวข้อย่อยหลายชั้นเกินไป เพราะจะทำให้สับสน

ตัวอย่างการวางโครงเรื่อง

ตัวอย่างการวางโครงเรื่อง

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน 4. การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ 4.1 เนื้อหาถูกต้องน่าเชื่อถือ พิจารณาดังนี้ 4.1.1 ผู้แต่ง หรือผู้รับผิดชอบ ควรมีวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และความ เชี่ยวชาญในเรื่อง หรือสาขาวิชานั้น 4.1.2 สำนักพิมพ์ หรือแหล่งผลิต จัดพิมพ์หนังสือและมีความน่าเชื่อถือมาก น้อยเพียงใด 4.2 เนื้อหาทันสมัย พิจารณาจากปีที่พิมพ์ หรือปีลิขสิทธิ์

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน 5. การอ่านและจดบันทึก อ่านแบบสำรวจ สำหรับการหาประเด็นเรื่องที่ต้องการ อ่านข้าม อ่านเนื้อหาเฉพาะตอนที่ตรงกับความต้องการ อ่านจับประเด็น บันทึก หรือคัดไว้เพื่อเรียบเรียงเป็นสาระสำคัญของเรื่อง อ่านสรุปความ มีสองลักษณะ คือ สรุปแต่ละย่อหน้า และสรุปจากทั้งเรื่อง อ่านวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การจดบันทึก

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน 6. การเรียบเรียงรายงาน นำรายการที่บันทึกหรือจดไว้มาจัดเรียงตามลำดับหัวข้อในโครงเรื่อง เริ่มเขียนทีละหัวข้อตามโครงเรื่องด้วยสำนวนของเราเอง ข้อมูลที่มาจากหลายแหล่งอาจพิจารณาเขียนทีละแหล่งแล้วสรุปตอนท้ายหรือสรุปรวมเป็นเรื่องเดียว ตามความเหมาะสม ควรมีการยกข้อความหรืองานเขียนของผู้อื่นประกอบบ้าง เพื่อสนับสนุนความคิดของตนให้น่าเชื่อถือ ยิ่งขึ้น ซึ่งต้องมีการอ้างอิงด้วย ผู้ทำรายงานควรสอดแทรกความรู้ ประสบการณ์ ความคิดเห็นตามความเหมาะสม เช่น การเชื่อมโยง ข้อมูล อภิปราย แสดงความคิดเห็น

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน 7. การจัดทำบรรณานุกรม 7.1 นำรายการที่บันทึกที่ใช้ประกอบการเรียบเรียงรายงานทั้งหมดมาจัดแยก เป็นทรัพยากรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือจำแนกตามประเภทของวัสดุ (ตาม ข้อกำหนดของสถาบันนั้นๆ) 7.2 จัดเรียงตามลำดับตัวอักษร ทั้งนี้จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขของสถาบันที่ ศึกษา และเรียงบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทยก่อน ต่อด้วย ภาษาอังกฤษ

ขั้นตอนการค้นคว้าวิจัยและทำรายงาน การตรวจสอบความถูกต้องและความเรียบร้อย ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานให้ครบทั้งเนื้อหาและส่วนประกอบ

การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน ใช้ภาษาเขียนที่เข้าใจง่าย ไม่ใช้คำในภาษาพูดหรือภาษาตลาด ใช้ประโยคสั้น ชัดเจน และถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ สำนวนภาษาที่ใช้ควรสละสลวย ลำดับความสัมพันธ์ต่อเนื่อง การย่อหน้าและเว้นวรรคให้เหมาะสม การย่อหน้าเป็นการเริ่มเนื้อหาในประเด็นใหม่ แต่ละย่อหน้าควร มีแนวคิดเพียงประเด็นเดียว โดยมีการเชื่อมโยงจากย่อหน้าหนึ่งไปสู่อีกย่อหน้าหนึ่ง อักษรย่อ คำย่อ หรือคำตัด ควรใช้คำเต็ม ยกเว้นคำย่อนั้นนิยมใช้อย่างแพร่หลาย และสื่อความหมาย ได้ชัดเจน เช่น พ.ศ. ส่วนคำตัด เช่น กรุงเทพฯ ใช้เมื่อมีการใช้คำนั้นบ่อยๆ ถ้าใช้ไม่มากควรเขียนคำ เต็ม การสะกดการันต์ เขียนให้ถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน การใช้ศัพท์บัญญัติ คำศัพท์ทั่วไปควรเขียนให้ถูกต้องส่วนคำศัพท์เฉพาะวิชาใช้เขียนตาม ศัพท์เฉพาะสาขาวิชาซึ่งจัดพิมพ์แยกเล่มแต่ละสาขาวิชา เช่น สารสนเทศ (Information) การทับศัพท์ กรณีที่ไม่มีศัพท์บัญญัติให้ใช้วิธีทับศัพท์และวงเล็บภาษาอังกฤษไว้ โดยยึด หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถาน เช่น อินเทอร์เน็ต (Internet) คำศัพท์ใหม่ ศัพท์บัญญัติ หรือการทับศัพท์ให้วงเล็บภาษาอังกฤษกำกับไว้เฉพาะที่เขียน ครั้งแรกเท่านั้น ใช้ครั้งต่อไปไม่ต้องวงเล็บภาษาอังกฤษกำกับอีก

การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน ข้อความในเนื้อหารายงานที่จำเป็นต้องมีภาษาอังกฤษกำกับ คำแรกให้ขึ้นต้นด้วยอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วนคำถัดๆไปใช้อักษรตัวพิมพ์เล็กตลอด ยกเว้นที่เป็นชื่อเฉพาะ หากเป็นชื่อหน่วยงาน ที่มีอักษรย่อเป็นที่รู้จักมากกว่าชื่อเต็ม ให้ระบุชื่อหน่วยงาน แล้ว วงเล็บชื่อเต็มและคำย่อในครั้งแรกเท่านั้น ในการเขียนครั้งต่อไปใช้อักษรย่อของชื่อนั้น เช่น สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด (International Federation of Library Associations and Institutions- IFLA)

การนำเสนอสารสนเทศในรูปแบบอื่นๆ บทความวิชาการ บทความวิจัย หนังสือ แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว

การใช้ MS Word เบื้องต้น

ข้อกำหนดการทำรายงานกลุ่ม ทำรายงานกลุ่ม 1 เล่ม ตามหัวข้อที่ได้เลือกแล้ว (กำหนดส่ง 8 ธันวาคม 2560) ทำงานนำเสนอด้วย PPT 1 ชิ้น และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ใช้รูปแบบการทำรายงานที่กำหนดให้ในเอกสารประกอบการสอน รายละเอียดเพิ่มเติมจะสรุปให้ใน Blog ในเบื้องต้นให้นักศึกษาเริ่มค้นข้อมูลและวางโครงเรื่องของหัวข้อที่เลือก แหล่งข้อมูลที่ใช้ศึกษากำหนดขั้นต่ำดังนี้ หนังสือหรือสิ่งพิมพ์ 3 รายการ บทความวิชาการ 1 บทความ เว็บไซต์ 2 เว็บ แหล่งอื่นๆ นอกเหนือจากนี้สามารถใช้ได้หากน่าเชื่อถือ