กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
รายงานและการบันทึกข้อมูล Functional + SpecialPP
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว นายไพศาล ป้องความดี นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกปี่ฆ้อง อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว

ดอกลำดวน เป็นต้นไม้ที่ให้ความร่มเย็น ดอกลำดวน เป็นต้นไม้ที่ให้ความร่มเย็น ลำต้นมีอายุยืน มีใบเขียวตลอดปี ให้ร่มเงาดีและ ดอกมีสีนวล กลิ่นหอม กลีบแข็งไม่ร่วงง่าย เปรียบเหมือนผู้สูงอายุซึ่งเป็นผู้ทรงวัยวุฒิที่คงคุณธรรมความดีงามไว้เป็นแบบอย่างแก่ลูกหลานตลอดไป

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ลักษณะดินร่วนปนทราย ลักษณะภูมิอากาศ โดยส่วนใหญ่จะมีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้น หน้าร้อนมักจะร้อนจัด แห้งแล้ง อาชีพ และรายได้ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ รับจ้าง, เกษตรกรรม เช่น รับจ้างทั่วไป, ปลูกข้าวและมันสำปะหลังมีรายได้โดยเฉลี่ย 50,000 บาท / คน /ปี

อยู่ห่างจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว 20 กิโลเมตร สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองสระแก้ว 13 กิโลเมตร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสระแก้ว 13 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ หมู่ที่ 9 บ้านใหม่กุฎชีวา ตำบลโคกปี่ฆ้อง ทิศใต้ ติดกับ ตำบลศาลาลำดวน ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลหนองบอนและตำบลสระแก้ว ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลบ้านแก้ง

ข้อมูลผู้สูงอายุ อำเภอเมืองสระแก้ว

หมู่ที่ / ชื่อหมู่บ้าน จำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด ลำดับ หมู่ที่ / ชื่อหมู่บ้าน จำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1 กลุ่มติดสังคม ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 กลุ่มติดบ้าน ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 3 กลุ่มติดเตียง หมายเหตุ 1 รพ.สต.โคกปี่ฆ้อง 493 471 19 3   2 รพ.สต.คลองน้ำใส na รพ.สต.ลุงพลู 217 197 17 4 รพ.สต.บะขมิ้น 330 320 7 1040   988 43   9

สภาพสังคม/ความเป็นอยู่ ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ และ ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ

สภาพสังคมการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ในตำบลโคกปี่ฆ้อง เป็นสภาพสังคมของผู้สูงอายุในชุมชน ชนบท อยู่ห่างไกลจากตัวเมือง ให้ความสำคัญกับสมาชิกในชุมชน สนใจเรื่องขนบธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติสีบทอดกันมา ส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับลูกหลาน ใน เวลากลางวันจะอยู่คนเดียวและอยู่ กับหลายเล็กๆ เพราะลูกๆต้อง ออกไปทำงานข้างนอกและทำงานโรงงานส่วนใหญ่ทำงานจักสารหาเลี้ยงชีพและ เป็นงานอดิเรก

ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุที่พบในพื้นที่ มีดังนี้ โรคเรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดสมอง/หลอดเลือดหัวใจ ตีบ หรือแตก โรคข้อเข่าเสื่อม โรคตามฤดูกาล โรคอื่นๆ

ข้อมูลผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ลำดับ หมู่ที่ / ชื่อหมู่บ้าน กลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๒ (กลุ่มติดบ้าน) ดูแลตัวเองได้บ้าง ช่วยเหลือตัวเองได้บ้างการประเมิน Barthel ADL Index (5 - 11 คะแนน) กลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๓ (กลุ่มติดเตียง) พึ่งดูแลตัวเองไม่ได้ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ พิการหรือทุพพลภาพ การประเมิน Barthel ADL Index (0 - 4 คะแนน) หมายเหตุ 1 รพ.สต.โคกปี่ฆ้อง 19 3   2 รพ.สต.คลองน้ำใส 9 6 รพ.สต.ลุงพลู 17 4 รพ.สต.บะขมิ้น

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ลำดับ หมู่ที่ / ชื่อหมู่บ้าน กลุ่มที่ ๑ เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน ทางสมอง กลุ่มที่ ๒ เหมือนกลุ่มที่ ๑ แต่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ ๓ เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง กลุ่มที่ ๔ เหมือนกลุ่มที่ ๓ และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต หมาย เหตุ 1 รพ.สต.โคกปี่ฆ้อง 14 5 2   รพ.สต.คลองน้ำใส 9 4 3 รพ.สต.ลุงพลู 13 รพ.สต.บะขมิ้น 6 ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

Care manager/care giver การดำเนินงานของ Care manager/care giver

ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานไม่ชัดเจนในการดำเนินการคัดกรอง ความเข้าใจในการคัดกรองของอสม.ยังไม่ดีเท่าที่ควร เนื่องด้วยภารกิจในการปฏิบัติงานค่อนข้างมากทำให้การดำเนินการดูแลผู้สูงอายุยังเป็นไปอย่างช้า งบประมานในการดำเนินงานล่าช้า ขาดบุคลากรในการดำเนินงาน

แผนการดำเนินการ พัฒนาต่อยอด

กิจกรรมที่จะดำเนินงาน แผนการดำเนินงานเพื่อการดูแลสุขภาพ ลดโรค และจัดการสภาพแวดล้อมทางสุขภาพ โดยการให้บริการเชิงรุก ถึงระดับครอบครัว ครอบคุลมด้านรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมสุขภาพ และควบคุมป้องกันโรค กิจกรรมที่จะดำเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 1.การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพในระดับครอบครัว และบุคคล ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการกายภาพบำบัดการแพทย์แผนไทย จิตเวชชุมชน การดูแลต่อเนื่อง ระดับครอบครัวและบุคคล PT/แผนไทย    / -บริการเชิงรุก จิตเวช -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รพสต. COC/PCT   / -นิเทศ ประเมินผล ถอดบทเรียน CMU วสค./คปสอ. 2.การเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการดูแลสุขภาพระดับครอบครัว และบุคคล ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการให้คำปรึกษา การจัดการข้อมูลสุขภาพ การดูแลโดยผู้ดูแล บริการเวชกรรมสังคม ด้านการคัดกรอง และการเฝ้าระวังป้องกันโรค วสค MSO/NSO คปสอ. 3.การจัดการสุขภาพเชิงรุก ผู้สูงอายุ ข้าถึงบริการเชิงรุกเน้นการลดปัญหาและการจัดการภัยคุกคาม โดยการบูรณาการร่วม PCT/CMU 4.การจัดบริการเชิงรุกในโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการเชิงรุกในโรค เบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคจักษุ ครอบคลุมครัวเรือนและบุคคล โดยเน้นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย PCT วสค. MSO NSO 5.การเปลี่ยนสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างสุขภาพ ผู้สูงอายุได้รับ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม และภัยคุกคามทางสุขภาพร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น เภสัช/วสค. PCT/อาชีวฯ CMU/คปสอ.