การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อ.พรพรรณ โชติพฤกษวัน ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
กรอบการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่ วิชาชีพ สถานศึกษา พอเพียง การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
โครงสร้างหลักสูตร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
โดย นางพรพรรณ โชติพฤกษวัน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ถวิล สร่ายหอม ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนขุนหาญวิทยาสรรค์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อ.พรพรรณ โชติพฤกษวัน ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

(11 กรกฎาคม 2560) การบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ ศธ. (11 กรกฎาคม 2560) การบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

การจัดการเรียนการสอนหน้าที่พลเมือง การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา : เวลาเรียนพื้นฐานตามโครงสร้างเวลาเรียน เวลาเรียนเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและบริบท เวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร และเวลาเรียนรวมทั้งหมดตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา : เวลาเรียนพื้นฐานตามหลักสูตรและสอดคล้องเกณฑ์การจบ เวลาเรียนเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและบริบทและเกณฑ์การจบ เวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร และเวลาเรียนรวมทั้งหมดตามความเหมาะสมของสถานศึกษา การบริหารจัดการ เวลาเรียน วิชาหน้าที่พลเมืองเป็นรายวิชาเพิ่มเติม บูรณาการกับรายวิชาอื่นในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น บูรณาการกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน/โครงการ/โครงงาน/วิถีชีวิตประจำวัน การจัดการเรียนการสอนหน้าที่พลเมือง จัดเป็นรายวิชาพื้นฐาน 200 ชั่วโมงต่อปี หรือ ๕ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จัดเป็นรายวิชาพื้นฐาน 120 ชั่วโมงต่อปี และจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน/กิจกรรมเสริมหลักสูตร 80 ชั่วโมงต่อปี การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ป.1-3

คำสั่ง ศธ. ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

เงื่อนไขและระยะเวลา ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ให้ใช้ ป.๑ ป.๔ ม.๑ ม.๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ให้ใช้ ป.๑ ป.๔ ม.๑ ม.๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ให้ใช้ ป.๑ ป.๒ ป.๔ ป.๕ ม.๑ ม.๒ ม.๔ ม.๕ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๓ เป็นต้นไป ให้ ใช้ทุกชั้นปี

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสูตร อิงมาตรฐาน ใช้มาตรฐานเป็นเป้าหมาย ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่เป้าหมายที่มาตรฐานกำหนด การวัดและประเมินผลที่สะท้อนมาตรฐาน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน การเรียนรู้ ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มีความเฉพาะเจาะจง และเป็นเกณฑ์สำคัญในการวัดและประเมินผล ตัวชี้วัด

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาผู้เรียน ประเมินระหว่าง การเรียนการสอน (Formative Assessment) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เพื่อตัดสิน ผลการเรียน ประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) : จบหน่วยการเรียนรู้ จบรายวิชา

งานวัดผล งานทะเบียน งานวัดและประเมินผล ของสถานศึกษา ให้คำปรึกษาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ให้ความรู้เทคนิควิธีการวัดและประเมินผล งานทะเบียน เอกสารหลักฐาน ทางการศึกษา

องค์ประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน หนังสือ เอกสาร โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต สื่อต่าง ๆ อ่าน (รับสาร) วิเคราะห์ สังเคราะห์ แก้ปัญหา หาเหตุผล และสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ ถ่ายทอดความรู้ ความคิด สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ เขียน (สื่อสาร)

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีจิตสาธารณะ รักความ เป็นไทย มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และ นักศึกษาวิชาทหาร - ชุมนุม/ชมรม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ติด ๐ ร มส มผ ๖๐ : ๔๐ ๗๐ : ๓๐ ๘๐ : ๒๐ ประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กำหนดสัดส่วน ระหว่างเรียน : ปลายปี/ภาค ๖๐ : ๔๐ ๗๐ : ๓๐ ๘๐ : ๒๐ กำหนดเกณฑ์การตัดสิน ผลการเรียน ประถมศึกษา : ระบบตัวเลข ตัวอักษร ร้อยละ คุณภาพ มัธยมศึกษา - ระดับผลการเรียน ๘ ระดับ - เงื่อนไขผลการเรียน (ร มส) กำหนดแนวปฏิบัติการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว ติด ๐ ร มส มผ กำหนดแนวปฏิบัติ การอนุมัติผลการเรียน กำหนดการรายงานผล

ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ศึกษาความหมาย กำหนดขอบเขต ตัวชี้วัด กำหนดรูปแบบการประเมิน - บูรณาการร่วมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ - แบบทดสอบ - โครงการ/กิจกรรม - บูรณาการร่วมกับกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน กำหนดเกณฑ์การตัดสิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน กำหนดการรายงานผล

ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ศึกษาความหมาย กำหนดขอบเขต ตัวชี้วัด กำหนดรูปแบบการประเมิน - บูรณาการร่วมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ - โครงการ/กิจกรรม - บูรณาการร่วมกับกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน กำหนดเกณฑ์การตัดสิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน กำหนดการรายงานผล

ผ่าน ไม่ผ่าน - เวลาเข้าร่วมกิจกรรม - ปฏิบัติกิจกรรม - ผลงาน ประเมิน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำหนดผู้รับผิดชอบ ศึกษาความหมาย กำหนดแนวทางการจัดกิจกรรม กำหนดแนวทางการประเมิน - เวลาเข้าร่วมกิจกรรม - ปฏิบัติกิจกรรม - ผลงาน กำหนดเกณฑ์การตัดสิน ผ่าน ไม่ผ่าน กำหนดการรายงานผล

ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๗ แนวปฏิบัติ การยกระดับคุณภาพ เพิ่มข้อสอบแบบเขียนตอบ อย่างน้อยร้อยละ ๓๐ ของการสอบแต่ละครั้ง ใช้ข้อสอบกลาง สพฐ. ในการสอบปลายปี ร้อยละ๒๐ ของคะแนนสอบทั้งหมด ปีการศึกษา ๒๕๕๗ เป็นต้นไป ป.๒ : ไทย ป.๔-๕ : ไทย คณิต วิทย์ ม.๑-๒ : ไทย คณิต วิทย์ สังคม อังกฤษ

ตัวอย่าง การกำหนดโครงสร้างรายวิชาและวางแผนการประเมิน และการกำหนดสัดส่วนของคะแนน

สัดส่วนคะแนน ระหว่างเรียน : ปลายปี ๗๐ : ๓๐ ตัวอย่าง รหัสวิชา ท12101 รายวิชา ภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 200 ชั่วโมง สัดส่วนคะแนน ระหว่างเรียน : ปลายปี ๗๐ : ๓๐ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) คะแนน ภาระงาน/ชิ้นงาน รวบยอด 1. สนุกกับภาษา ท ๒.๑ ป.2/1 ท ๒.1 ป.2/2 ท ๒.1 ป.2/3 .................................... 20 10 เขียนเรื่องที่ตนเองสนใจ 2. 3. ... รวม 198 70 ปลายปี ข้อสอบของโรงเรียน 1 24 ข้อสอบกลาง 20% 6 200 100

รหัสรายวิชา หลักที่ ๒ หลักที่ ๓ หลักที่ ๑ หลักที่ ๔ หลักที่ ๕-๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับการศึกษา ปีในระดับการศึกษา ประเภทของรายวิชา ลำดับของรายวิชา ท ค ว ส พ ศ ง ๑ (ประถม) ๒ (ม.ต้น) ๓ (ม.ปลาย) ๐ (ไม่กำหนดปีที่เรียน) ๑ (ป.๑ ม.๑ ม.๔) ๒ (ป.๒ ม.๒ ม.๕) ๓ (ป.๓ ม.๓ ม.๖) ๔ (ป.๔) ๕ (ป.๕) ๖ (ป.๖) ๑ (พื้นฐาน) ๒ (เพิ่มเติม) ๐๑ – ๙๙ รายวิชาเพิ่มเติม ๐๑-๑๙ : ฟิสิกส์ ๐๑-๑๙ : เคมี ๐๑-๑๙ : ชีววิทยา ๐๑-๑๙ : โลกและอวกาศ ๐๑-๑๙ : วิทยาศาสตร์อื่น

รหัสตัวชี้วัด ตัวอย่าง ว 1.1 ป.1/2 ว : กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวอย่าง ว 1.1 ป.1/2 ว : กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑.๑ : สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑ ป.๑/๒ : ตัวชี้วัดชั้น ป.๑ ข้อที่ ๒

วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินการปฏิบัติ การสังเกตพฤติกรรม การประเมินตนเอง การประเมินโดยเพื่อน การประเมินการปฏิบัติ การประเมินสภาพจริง การใช้คำถาม การสนทนา ฯลฯ

การตัดสินผลการเรียน ระดับประถมศึกษา การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ได้รับการตัดสินผลทุกรายวิชา ตัวชี้วัด

การให้ระดับผลการเรียน ระดับประถมศึกษา ระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ ระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน ๕ ระดับ ๔ ระดับ ๒ ระดับ ๔ A ๘๐-๑๐๐ ดีเยี่ยม ผ่าน ๓.๕ B+ ๗๕-๗๙ ดี ๓ B ๗๐-๗๔ ๒.๕ C+ ๖๕-๖๙ พอใช้ ๒ C ๖๐-๖๔ ๑.๕ D+ ๕๕-๕๙ ๑ D ๕๐-๕๔ ๐ F ๐-๔๙ ไม่ผ่าน

การตัดสินผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษา การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียนตลอดภาคเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ ทุกรายวิชา ได้รับการตัดสินผล ตัวชี้วัด

การให้ระดับผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษา ระบบผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๔ ดีเยี่ยม ๘๐-๑๐๐ ๓.๕ ดีมาก ๗๕-๗๙ ๓ ดี ๗๐-๗๔ ๒.๕ ค่อนข้างดี ๖๕-๖๙ ๒ ปานกลาง ๖๐-๖๔ ๑.๕ พอใช้ ๕๕-๕๙ ๑ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ ๕๐-๕๔ ๐ ต่ำกว่าเกณฑ์ ๐-๔๙

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีผลงานที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ ดีเยี่ยม มีผลงานที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ดี มีผลงานที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ ผ่าน ไม่มีผลงาน มีผลงาน แต่ยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ ไม่ผ่าน

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีผลการประเมินระดับดีเยี่ยม ๕-๘ คุณลักษณะ และ ไม่มีคุณลักษณะใดต่ำกว่าระดับดี ดีเยี่ยม มีผลการประเมินระดับดีเยี่ยม ๑-๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดต่ำกว่าระดับดี มีผลการประเมินระดับดีทั้ง ๘ คุณลักษณะ มีผลการประเมินระดับดีขึ้นไป จำนวน ๕-๗ คุณลักษณะ มีบางคุณลักษณะได้ระดับผ่าน ดี มีผลการประเมินระดับผ่านทั้ง ๘ คุณลักษณะ มีผลการประเมินระดับดีขึ้นไป จำนวน ๑-๔ คุณลักษณะ ที่เหลือได้ระดับผ่าน ผ่าน มีผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ ไม่ผ่าน

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงานตามเกณฑ์ที่สถานศีกษากำหนด ผ่าน มีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศีกษากำหนด ไม่ผ่าน

การเปลี่ยนผลการเรียน “๐” สถานศึกษาจัดสอนซ่อมเสริม สอบแก้ตัว ไม่เกิน ๒ ครั้ง ตัดสิน ผลการเรียน ได้ “๑” ได้ “๐” ผ่าน ไม่ผ่าน รายวิชาพื้นฐาน เรียนซ้ำ รายวิชาเพิ่มเติม เรียนซ้ำ/เปลี่ยนรายวิชา

การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” แก้ไขตามสาเหตุ ตัดสิน ผลการเรียน ได้ “๑-๔” ได้ “๐” ผ่าน ไม่ผ่าน

การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” ร้อยละ ๖๐ ‹ เวลาเรียน ‹ ร้อยละ ๘๐ เรียนเพิ่มเติม เวลาเรียนครบ เวลาเรียน ‹ ร้อยละ ๖๐ วัดผลปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ ได้ “๑” ได้ “๐” รายวิชาเพิ่มเติม เรียนซ้ำ/เปลี่ยนรายวิชา รายวิชาพื้นฐาน เรียนซ้ำ

การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาซ่อมเสริม เวลาเข้าร่วม/ปฏิบัติกิจกรรม/ผลงาน ได้ “ผ”

การเลื่อนชั้น ระดับประถมศึกษา มีเวลาเรียนตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ผ่านทุกรายวิชาพื้นฐาน ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

การเลื่อนชั้น ระดับมัธยมศึกษา รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมผ่าน ตามเกณฑ์สถานศึกษา ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีระดับผลการเรียนเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า ๑.๐๐

หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว๑๔๗๘ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๙ เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏิบัติการเรียนซ้ำชั้น

การวัดและประเมินผลการเรียน การสอนซ่อมเสริม การเรียนซ้ำ การสอบแก้ตัว ๒ ครั้ง การเรียนซ้ำชั้น การวัดและประเมินผลการเรียน การสอนซ่อมเสริม การเรียนซ้ำ ประถมศึกษา การวัดประเมิน เป็นระยะ ๆ แก้ไขข้อบกพร่อง พัฒนาผู้เรียน รายวิชาพื้นฐาน ให้ซ้ำรายวิชานั้น รายวิชาเพิ่มเติมให้ ซ้ำรายวิชานั้น หรือ เปลี่ยนรายวิชาใหม่ ครั้งที่ ๑ ครูเป็นผู้สอบแก้ตัว ครั้งที่ ๒ สถานศึกษาดำเนินการ - ไม่ผ่านรายวิชาเกิน ครึ่งหนึ่ง - ป. ๑ – ๒ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คิดเลขไม่เป็น มัธยมศึกษา ผ่าน ป.๑ พัฒนา อ่านออกเขียนได้ ผลการเรียน “๐” การเรียนซ้ำรายวิชา - ผลการเรียนเฉลี่ย ต่ำกว่า ๑.๐๐ - ผลการเรียน ๐ ร มส เกินครึ่งหนึ่ง ไม่ผ่าน

เกณฑ์การจบ ระดับประถมศึกษา เรียนรายวิชาพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลาง เรียนรายวิชาเพิ่มเติมตามสถานศึกษากำหนด รายวิชาพื้นฐาน เกณฑ์การจบ ระดับประถมศึกษา การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

เกณฑ์การจบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรียนรายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต เรียนรายวิชาเพิ่มเติมตามสถานศึกษากำหนด ได้หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดย รายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๑๑ หน่วยกิต เกณฑ์การจบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

เกณฑ์การจบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เรียนรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต เรียนรายวิชาเพิ่มเติมตามสถานศึกษากำหนด ได้หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดย รายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต เกณฑ์การจบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

การอนุมัติจบการศึกษา สถานศึกษาสามารถอนุมัติจบการศึกษาให้ผู้เรียนได้ตลอดปี โดยไม่ต้องรอ จนถึงปลายภาคหรือปลายปีการศึกษา ควรคำนึงถึงสิทธิประโยชน์ของ ผู้เรียนเป็นสำคัญ การอนุมัติจบการศึกษาพร้อมรุ่น การจบการศึกษาในรุ่นปกติ อนุมัติให้จบการศึกษาภายในวันเดือนปี เดียวกัน การอนุมัติจบการศึกษาไม่พร้อมรุ่น ไม่จบการศึกษาในรุ่นปกติ ต้องเรียนต่อเพื่อให้จบหลักสูตร แก้ไขผล การเรียน เมื่อมีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์การจบการศึกษาแล้ว สามารถ อนุมัติให้จบได้ หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว๒๒๔ ลงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ (แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลฯ หน้า ๒๒๕ – ๒๒๖)

การเทียบโอนผลการเรียน

ความหมาย ดำเนินการ พิจารณา การนำผลการเรียน ผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ ประสบการณ์การทำงาน การฝึกอาชีพ มาเทียบโอนเป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษาต่อเนื่อง ตามหลักสูตรของสถานศึกษาที่รับเทียบโอนผลการเรียน ความหมาย ในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน ดำเนินการ เอกสาร ปพ.๑ ประกาศนียบัตร ใบรับรองผลการเรียน หลักฐานอื่น ๆ ประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ที่มีมาก่อน หลักการเทียบชั้นต่อชั้นปีตามผลการเรียน พิจารณา

การเทียบโอนจากการศึกษาในระบบสู่การศึกษาในระบบ เทียบโอนรายวิชาที่ผ่านการตัดสินผลการเรียนจากสถานศึกษาเดิมได้ทั้งหมด และจัดเข้าเรียนต่อเนื่อง วิธีปฏิบัติในการจัดเข้าชั้นเรียน ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาเดิม จำนวนหน่วยกิต/ หน่วยการเรียน/หน่วยน้ำหนัก ยอมรับผลการเรียนของสถานศึกษาเดิม ผลการเรียน/ผลการประเมิน ไม่ต้องนำรายวิชาและผลการเรียนเดิมกรอกในใบแสดงผลการเรียนใหม่ แต่ให้แนบ และบันทึกจำนวนหน่วยที่ได้รับการเทียบโอน ไว้ในช่องหมายเหตุ การบันทึกผลการเรียน ในใบแสดงผลการเรียน ให้นำผลการเรียนและจำนวนหน่วยจากสถานศึกษาเดิมมาคิดรวมกับผลการเรียนและจำนวนหน่วยของสถานศึกษาใหม่ และคิดผลการเรียนเฉลี่ยรวมตลอดระดับการศึกษา การคิดผลการเรียนเฉลี่ย

การเทียบโอนจากการศึกษาหลักสูตรต่างประเทศ สู่การศึกษาในระบบ พิจารณาเทียบโอนภาคเรียนต่อภาคเรียน ปีต่อปี วิธีปฏิบัติในการจัดเข้าชั้นเรียน ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาที่รับเข้าเรียน จำนวนหน่วยกิต/ หน่วยการเรียน/หน่วยน้ำหนัก ผลการประเมินเพิ่มเติมให้เป็นไปตามที่สถานศึกษาที่รับเข้าเรียนกำหนด ผลการเรียน/ผลการประเมิน ให้กรอกรายชื่อรายวิชาและจำนวนหน่วยของสถานศึกษาที่รับเข้าเรียน ในใบแสดงผลการเรียน ไม่ต้องกรอกผลการเรียน การบันทึกผลการเรียน ในใบแสดงผลการเรียน ให้คิดผลการเรียนเฉลี่ยจากรายวิชาที่มีจำนวนหน่วยและระดับผลการเรียนที่ได้จากการเรียนในสถานศึกษาใหม่ การคิดผลการเรียนเฉลี่ย

การรายงานผลการเรียน ต้องสรุปผลการ เรียน รายงานให้ ผู้ปกครองและ ผู้เรียนทราบ ความก้าวหน้า เป็นระยะ ๆ หรือ ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง เป็น อย่างน้อย

การจำหน่ายนักเรียน

ที่จะจำหน่ายนักเรียน อายุพ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ ๕ สาเหตุ ที่จะจำหน่ายนักเรียน ย้ายสถานศึกษา ถึงแก่กรรม หยุดเรียนติดต่อกันเป็นเวลานาน ไม่มีตัวตนผู้ปกครอง/นักเรียน และไม่ย้ายที่อยู่ อายุพ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ เรียนจบการศึกษา

ชาติภูมิ เรื่องเดิม รายงานรับ รายงานจำหน่าย เลขประจำตัว/เลขประจำประชาชน ชื่อนักเรียนและชื่อนักศึกษา วัน เดือน ปีเกิด สถานที่เกิด ชื่อบิดาและมารดา อาชีพของบิดาและมารดา สถานศึกษาเดิม เหตุที่ย้าย วันเข้าเรียน ที่อยู่ปัจจุบัน ความรู้เดิม วันจำหน่าย เหตุที่จำหน่าย ความรู้และความประพฤติ หมาย เหตุ

ขอบคุณค่ะ