ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
Advertisements

แนวทางการพัฒนาระบบ สารสนเทศ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ แห่งประเทศไทย 2010 ระยะ ที่ 1 ระยะ ที่ 2 ระยะ ที่ 3 ระยะ ที่ 4 ทุกหน่วยงานมี WEBSITE การโต้ตอบทาง.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ชุมพรน่าอยู่ ประตูทอง ๒ ฝั่งทะเล        แผนยุทธศาสตร์ โครงการ PMQA ๑ การนำองค์กร PMQA ๒ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ PMQA ๓ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ.
Draft Application Report
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
กตส. จะเดินหน้าสู่ CAD 4.0 ได้อย่างไร
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
Strategic Line of Sight
หลักสูตรเสริมสร้างเกียรติภูมิข้าราชการ : สำนึกข้าราชการไทยไม่โกง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
Continuous Quality Improvement
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ วาระ 3.1 รายงานป้อนกลับ รายงานผลการประเมินสถานะ การเป็นระบบราชการ 4.0 ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จากระบบการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐ ในการเป็นระบบราชการ 4.0 ของสำนักงาน ก.พ.ร.

ผลการประเมินของผู้ตรวจฯ ผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลำดับ หน่วยงาน ผลการประเมินของผู้ตรวจฯ 1 กรมปศุสัตว์ 3.58 2 กรมชลประทาน 2.04 3 กรมวิชาการเกษตร 2.02 4 สำนักพัฒนาระบบบริหาร 1.73 5 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 1.70 6 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.58 7 สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 1.56 8 สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 1.50 9 กรมประมง 1.49 10 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 1.36 11 กรมส่งเสริมการเกษตร 1.19 12 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 1.12 13 กรมหม่อนไหม 1.10 14 กรมการข้าว 0.38 15 กรมพัฒนาที่ดิน 0.03 ผลประเมินเฉลี่ย = 1.36

หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเด็นพิจารณา 1.1 ระบบการนำองค์การที่สร้างความยั่งยืน 1.2 การป้องกันทุจริตและความโปร่งใส 1.3 การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ผ่านการสร้างการมี ส่วนร่วมจากเครือข่ายทั้งภายนอกและ ภายใน 1.4 คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม ประเด็นพิจารณา 2.1 แผนยุทธศาสตร์ที่ตอบสนองความท้าทายและ สร้างนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลง 2.2 เป้าหมายยุทธศาสตร์ทั้งระยะสั้นและระยะยาว สอดคล้องพันธกิจและยุทธศาสตร์ชาติ 2.3 แผนงานขับเคลื่อนลงไปทุกภาคส่วน 2.4 การติดตามผล การแก้ไขปัญหา และการรายงาน ผล ประเด็นพิจารณา 3.1 ระบบข้อมูลและสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อ การบริการและการเข้าถึง 3.2 การประเมินความพึงพอใจและความผูกพัน 3.3 การสร้างนวัตกรรม การบริการ และตอบ สนองความต้องการเฉพาะกลุ่ม 3.4 กระบวนการแก้ไขข้อร้องเรียนที่รวดเร็วและ สร้างสรรค์ จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 การจัดการผลกระทบต่อสังคม เนื่องจากกรมไม่ได้มีการแสดงให้เห็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการ กระบวนการและยุทธศาสตร์และประเมินผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสังคมอย่างชัดเจน จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 ควรแสดงให้เห็นความชัดเจนของยุทธศาสตร์ที่ส่วนราชการได้กำหนดว่ามีกระบวนการอย่างไร มีความเชื่อมโยงและตอบสนองต่อข้อกำหนดภายใต้เกณฑ์ในแต่ละข้ออย่างไร จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 การสร้างนวัตกรรมและการบริการที่แตกต่าง ส่วนราชการควรแสดงให้เห็นว่า นวัตกรรม SMART 4 M เป็นนวัตกรรมอย่างไร เป็นสิ่งใหม่ที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นอย่างไร

หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบ ปฏิบัติการ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบ ปฏิบัติการ ประเด็นพิจารณา 5.1 ระบบการจัดการบุคลากรตอบสนองยุทธศาสตร์ และสร้างแรงจูงใจ 5.2 ระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ คล่องตัวและ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 5.3 การสร้างนวัตกรรม การทำงานที่ดีและความ ร่วมมือ 5.4 ระบบการพัฒนาบุคลากร ประเด็นพิจารณา 4.1 การกำหนดตัววัดเพื่อการติดตามงาน อย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 การวิเคราะห์ผลจากข้อมูลและตัววัดใน ทุกระดับเพื่อการแก้ปัญหา 4.3 การใช้ความรู้และองค์ความรู้ของส่วน ราชการในการแก้ปัญหา เรียนรู้และมี เหตุผล 4.4 การบริหารจัดการข้อมูล และการปรับ ระบบการทำงานเป็นดิจิทัลเต็มรูปแบบ ประเด็นพิจารณา 6.1 กระบวนการทำงานเชื่อมโยงตั้งแต่ต้นจนจบ นำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ 6.2 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงผลผลิต กระบวนการการให้บริการ 6.3 การลดต้นทุน การใช้ทรัพยากรเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและความสามารถในการ แข่งขัน 6.4 การมุ่งเน้นประสิทธิผลทั้งองค์การและ ผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ประเทศ จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 - นโยบายและระบบการจัดการด้านบุคลากร ควรมีการแสดงให้เห็นว่าได้มีการจัดบุคลากรให้สอดคล้องกับความรู้ ความสามารถสอดคล้องกับความต้องการขององค์การและผู้รับบริการ ควรมีการแสดงความเป็นระบบของการพัฒนาบุคลากรให้มีความชัดเจนว่า มีแนวทางการพัฒนาบุคลากรที่เป็นระบบ มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกับสมรรถนะที่องค์การต้องการ สามารถสร้างให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถและขีดสมรรถนะ มีคุณธรรม มีจริยธรรม และมีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 การวัดผลจากข้อมูล และตัววัด เพื่อการแก้ปัญหาและตอบสนองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา และเชิงรุก ไม่ควรเป็นการแก้ไขปัญหาเพียงแค่ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เท่านั้น แต่ต้องนำไปสู่การแก้ไขปัญหาขององค์การทั้งในระดับ ปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 ควรแสดงให้เห็นการมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการที่มีความครอบคลุมกระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุนขององค์การอย่างครบถ้วน