“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี” โครงการ “การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี” โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

ความเป็นมา PMTCT อัตราการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอ วี จาก แม่สู่ลูกลดลงจาก 25 – 30% เป็น 8% พ่อ – แม่ (สำคัญที่สุดในการดูแลลูก) ตาย ในระยะที่ลูกต้องการ (5 ปีแรกของอายุ) เด็กกำพร้า คนเลี้ยงดูไม่สนิทใจในการเลี้ยงดู เนื่องจาก ความกลัว + รังเกียจ เด็กที่เกิดจากแม่ ติดเชื้อด้อยคุณภาพ

เป้าหมาย (1) เพื่อให้พ่อแม่มีชีวิตยืนยาว อย่างน้อย 5 ปี และเลี้ยงดูลูก เพื่อให้พ่อแม่มีชีวิตยืนยาว อย่างน้อย 5 ปี และเลี้ยงดูลูก ในช่วงที่สำคัญของชีวิตได้ โดย….

เป้าหมาย (2) กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ให้มีสุขภาพที่ดี เมื่อจำเป็นต้องได้รับยาต้านไวรัส จะได้รับยาต้านไวรัส ได้รับยาหรืออุปกรณ์คุมกำเนิด ได้รับบริการปรึกษา และติดตามดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง ได้รับการช่วยเหลือทางสังคมจากชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย มารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี บุตรที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี คู่หรือสามีของหญิงที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ในกรณีที่หญิงตั้งครรภ์ ยินยอมเปิดเผยสถานภาพ การติดเชื้อแก่สามี

วัตถุประสงค์ เพิ่มศักยภาพของเจ้าหน้าที่ สธ. ให้บริการมารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี คู่หรือสามี และบุตร ให้การดูแลรักษาอย่างครบวงจรสำหรับมารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และครอบครัว ผลักดันนโยบายระดับจังหวัด ในการลดการเลือกปฏิบัติ

การดำเนินงาน(1) ปฐมนิเทศโครงการ ฯ แก่ผู้บริหาร/ผู้ปฏิบัติงานจาก รพ. สสจ. และ NGOs ทุก ๆ จังหวัด เพื่อหารือในด้านการวางแผน และการร่วมมือ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของระบบบริการ ทางการแพทย์ และระบบบริการดูแล ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยโรคเอดส์ อย่างครบถ้วน ต่อเนื่องใน รพ. ทุกแห่ง

การดำเนินงาน(2) อบรมบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุข ในการดูแลรักษา ระบบการส่งต่อ การติดตาม และ การประเมินผล อบรม จนท. ที่ให้การปรึกษาจาก แผนกสูตินรีเวช กุมารเวช อายุรกรรม และเวชกรรม ให้การดูแลรักษา โดยการประเมิน ทางการแพทย์ รวมถึงการตรวจร่างกาย และการทดสอบทางห้องปฏิบัติการ

การดำเนินงาน(3) ติดตามการดูแลรักษา โดย จนท. ของ รพ. ทุก ๆ 6 เดือน เพื่อตรวจ CD4 ตรวจสภาพร่างกาย และให้การปรึกษา อบรมผู้ปกครอง ญาติ ผู้ที่ดูแลเด็ก และผู้ที่เกี่ยวข้อง ในด้านการดูแล ขั้นพื้นฐานที่บ้าน และการช่วยเหลือ ด้านจิตสังคม จัดกิจกรรม และการประชุมปฏิบัติการ ในระดับชุมชน และเครือข่ายชุมชน

การดำเนินงาน(4) ประชุมปฏิบัติการระหว่างคณะอนุกรรมการเอดส์แห่งชาติและ NGOs ต่าง ๆ เพื่อทบทวนนโยบายช่วยเหลือผู้หญิง และเด็ก ทบทวนนโยบายขององค์การบริหารส่วนตำบล การประเมินสภาวะการเลือกปฏิบัติ การวิจัย การบริหารจัดการความรู้

การดำเนินงาน(5) พัฒนาระบบควบคุมกำกับ โดยการให้ รพ. บันทึกข้อมูล และส่งรายงาน นิเทศติดตาม โดยผู้บริหาร นักวิชาการ จากกรมอนามัย ศอ. สคร. สสจ. และ NGO

ผลการดำเนินงาน พ.ย.46 – ม.ค.48 (1) ผลการดำเนินงาน พ.ย.46 – ม.ค.48 (1) รพท./รพศ. 71 แห่ง ให้การดูแลรักษาอย่างครบวงจร รพช. 629 แห่ง ให้การดูแลรักษาอย่างครบวงจร รพ. 700 แห่ง ให้การปรึกษา และ การตรวจเชื้อ เอช ไอ วี โดยความสมัครใจ (VCT) ได้อย่างดี

ผลการดำเนินงาน พ.ย.46 – ม.ค.48 (2) หญิงติดเชื้อ เอช ไอ วี 53.5% คุมกำเนิด มารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี 3,317 คน ได้รับยาต้านไวรัส บิดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี 1,327 คน ได้รับยา ต้านไวรัส

ผลการดำเนินงาน พ.ย.46 – ม.ค.48 (3) บุตรที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี 318 คน ได้รับยาต้านไวรัส มารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี 6,418 คน ได้รับการบริการปรึกษา และการติดตามดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง มารดาที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี 1,002 คน ได้รับการช่วยเหลือทางสังคมจากชุมชน

ผลการดำเนินงาน พ.ย.46 – ม.ค.48 (4) ผลการดำเนินงาน พ.ย.46 – ม.ค.48 (4) 37 จังหวัด มีนโยบาย และแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจนสอดคล้องกับการช่วยเหลือมารดา และบุตร ที่ได้รับผลกระทบจากการติดเชื้อ เอช ไอ วี

แผนการดำเนินงาน ในระยะที่ 2

Justification… โครงการมุ่งเน้นการเข้าโครงการของกลุ่มเป้าหมาย ตั้งแต่ร่างกายยังแข็งแรง เพื่อช่วยรักษาคุณภาพชีวิตให้ดีนานที่สุด ซึ่งขณะนี้ ... สถานบริการมีความพร้อมบริการ ผู้ให้บริการมีความพร้อม 85 % (อีก 15% มีการเปลี่ยนหน้าที่ / จนท.ใหม่)

กลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะสามี ที่ไม่มีอาการยังไม่ครอบคลุม เนื่องจากเกรงการรังเกียจ 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าโครงการแล้วปฏิเสธการติดตาม / เยี่ยมบ้านทำให้ขาดการติดต่อ

แผนงาน... (1) การลดการรังเกียจ / การเลือกปฏิบัติใน... 1. ชุมชน 2. โรงเรียน 3. สถานให้บริการ 4. สถานประกอบการ 5. ศาสนสถาน เพื่อให้เปิดเผยตนเอง + ยินยอม รับบริการแต่เนิ่น ๆ ลดภาระค่ารักษา ด้วยยา ARV

แผนงาน...(2) ประชุมติดตามความก้าวหน้า การดำเนินงานของภาคี อบรมพื้นความรู้ให้กับบุคลาการ ที่เกี่ยวข้อง เร่งรัดการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม เร่งรัดระบบการรายงานให้เข้มแข็ง ครอบคลุม และทันสมัย

แผนงาน...(3) ผสมผสานระบบควบคุมกำกับ กับระบบควบคุมกำกับป้องกัน การติดเชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก วิเคราะห์และประเมินผล ผลกระทบและความยั่งยืน

งบประมาณที่คาดว่าจะใช้ ปีที่ 3 US $ 13,409,321.- ปีที่ 4 US $ 17,542,302.- ปีที่ 5 US $ 21,355,385.- รวมทั้งสิ้น US $ 52,307,008.-

สวัสดี