สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ส่วนพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช (7 ส่วน) โครงการศึกษาวิจัยภายใต้ป่าอนุรักษ์ (สวป) สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ กลุ่มงานวิชาการสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ/ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้

พระราชบัญญัติและอนุสัญญาที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยป่าไม้

พระราชบัญญัติและอนุสัญญาที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยป่าไม้ ร่างพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.... ร่างพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.... อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity : CBD) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC)

ร่างพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.... มาตรา 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และออกกฎทรวง ประกาศ และระเบียบ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา 38 วรรคสอง กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการแบ่งปันผลประโยชน์จากการเข้าถึง และการได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากทรัพยากรชีวภาพเพื่อการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ พ.ศ. ....

ร่างพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.... มาตรา 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ ลดหรือยกเว้นค่าธรรมเนียม และประกาศกำหนดกิจการอื่น เพื่อให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 66 วรรคสอง กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการแบ่งปันผลประโยชน์จากการเข้าถึง และการได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากทรัพยากรชีวภาพเพื่อการศึกษาหรือวิจัยทางวิชาการ พ.ศ. ....

อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity : CBD) หลักการและสาระสำคัญ : อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลาย ทางชีวภาพเป็นความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศที่มี เจตนารมณ์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดต่อการรักษาวินัย สิ่งแวดล้อม ซึ่งหมายถึงแม้มีความต้องการอย่างมากที่จะ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่ก็ต้องไม่ละเลยการอนุรักษ์ ธรรมชาติด้วย อนุสัญญาฯ มีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ (1) เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ (2) เพื่อใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน (3) เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากร พันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) พันธกรณีของภาคี (1) เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาฯ กำหนดให้แต่ละ ประเทศภาคีต้องดำเนินการ ดังนี้      (1.1) ดำเนินการให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้และเท่าที่เหมาะสม เพื่อ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ อัน ได้แก่ การจัดตั้งระบบพื้นที่คุ้มครองหรือพื้นที่ซึ่งต้องการมาตรการพิเศษ เพื่อสงวนรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและกำหนดมาตรการเฉพาะเรื่อง อีกมากกว่าสิบมาตรการ   (1.2) อนุรักษ์นอกถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ โดยวางมาตรการบำรุงและ ฟื้นฟูชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ และนำกลับเข้าสู่ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ เดิมอย่างยั่งยืน

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) (2) เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์องค์ประกอบของความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่างยั่งยืน อนุสัญญาฯ กำหนดให้แต่ละภาคี     (2.1) ต้องผสานการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพ อย่างยั่งยืน ให้เข้ากับนโยบายและแผนของชาติ     (2.2) ต้องสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นในการจัดทำและปฏิบัติตาม มาตรการแก้ไขฟื้นฟูในพื้นที่เสื่อมโทรม     (2.3) ต้องส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐและภาคเอกชน ในการพัฒนาวิธีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) (3) เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่าง ยุติธรรมและเท่าเทียม อนุสัญญาฯ ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า “อำนาจ ในการพิจารณากำหนดการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรม ขั้นอยู่กับ รัฐบาลแห่งชาติ” และกำหนดให้ภาคีต้อง   (3.1) พยายามสร้างเงื่อนไข เพื่ออำนวยแก่การเข้าถึงทรัพยากร พันธุกรรมหากเป็นการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนั้น      (3.2) วางกลไกในการต่อรองผลประโยชน์บนเงื่อนไขการตก ลงร่วมกันระหว่างผู้ให้และผู้ขอใช้พันธุกรรม   (3.3) ให้ประเทศซึ่งเป็นผู้ให้ทรัพยากรพันธุกรรมได้รับถ่ายทอด เทคโนโลยีซึ่งใช้ทรัพยากรพันธุกรรมนั้นจากประเทศผู้รับ ทั้งนี้ บน พื้นฐานแห่งความยุติธรรมและความเสมอภาค (4) ประเทศสมาชิกต้องสนับสนุนทางการเงิน

โครงการที่ดำเนินการภายใต้/ที่สอดคล้องกับ(ร่าง) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2560 แผนงาน/โครงการ ผู้รับผิดชอบ - สื่อสาร เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ และจัดทำสื่อเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพให้กับเจ้าหน้าที่ ชุมชน และภาคส่วนต่าง ๆ มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและคุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงวิธีการในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน สลช. - จัดประชุมสัมมนาทางวิชาการ และกิจกรรมเนื่องในวันสำคัญที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ สลช. - สนับสนุนผู้แทนประเทศไทยเข้าร่วมประชุมสมัชชาภาคี คณะทำงาน และคณะที่ปรึกษาภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ และความตกลงระหว่างประเทศอื่นที่เกี่ยวข้อง สลช. สพม. สอป.

โครงการที่ดำเนินการภายใต้/ที่สอดคล้องกับ(ร่าง) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2560 แผนงาน/โครงการ ผู้รับผิดชอบ - เสริมสร้างเครือข่ายการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามและชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น สพม. - จัดตั้งและเสริมความเข้มแข็งของเครือข่ายคุ้มครอง เฝ้าระวังชนิดพันธุ์พืชหายาก พืชที่ถูกคุกคามโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนควบคู่กับการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สพม. - สร้างเครือข่ายการอนุรักษ์พืชรวมถึงเพิ่มสมรรถนะและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่าย สวอ. - ศึกษาสำรวจประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศ และพื้นที่อนุรักษ์ สลช.

โครงการที่ดำเนินการภายใต้/ที่สอดคล้องกับ(ร่าง) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2560 แผนงาน/โครงการ ผู้รับผิดชอบ - โครงการวิจัยความหลากหลายของเชื้อราแมลงและเห็ดป่าในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย สวอ. - โครงการวิจัย ความหลากชนิดและเขตการแพร่กระจายของด้วงขนาดใหญ่ วงศ์ Lucanidae ที่มีการขออนุญาต นำเข้า-ส่งออกในประเทศไทย สวอ. - โครงการจัดสร้างฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมตามแหล่งภูมิศาสตร์ของพืชถิ่นเดียว พืชหายากและมีค่าใกล้สูญพันธุ์ เพื่อการอนุรักษ์และปกปักพันธุกรรมของประเทศไทย สพม. - จัดทำแนวทางและมาตรการอนุรักษ์ คุ้มครอง ฟื้นฟูชนิดพันธุ์พืช สัตว์ในทะเบียนสถานภาพชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามและใกล้สูญพันธุ์ของประเทศไทย (Thailand red data) สพม.

โครงการที่ดำเนินการภายใต้/ที่สอดคล้องกับ(ร่าง) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2560 แผนงาน/โครงการ ผู้รับผิดชอบ - จัดทำแผนจัดการเพื่อคุ้มครองสมุนไพรในพื้นที่เขตอนุรักษ์ สพม. - โครงการจัดสร้างฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมตามแหล่งภูมิศาสตร์ของพืชถิ่นเดียว พืชหายากและมีค่าใกล้สูญพันธุ์ เพื่อการอนุรักษ์และปกปักพันธุกรรมของประเทศไทย สพม. สพม. - จัดตั้งเครือข่ายคุ้มครองชนิดพันธุ์พื้นเมืองที่ถูกคุกคามโดยชุมชนมีส่วนร่วม ควบคู่กับการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สพม. สพม. - อนุรักษ์ชนิดพันธุ์พืชป่าเฉพาะถิ่นหายากและใกล้สูญพันธุ์ สพม. - จัดอบรมการคุ้มครองและฟื้นฟูชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นและชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามแก่ชุมชนท้องถิ่น

โครงการที่ดำเนินการภายใต้/ที่สอดคล้องกับ(ร่าง) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2560 แผนงาน/โครงการ ผู้รับผิดชอบ สพม. - จัดทำทะเบียน ติดตาม และตรวจสอบผลผลิตที่ได้จากพืชป่า - ศึกษาและจัดลำดับความสำคัญของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน ควรป้องกัน ควบคุม กำจัดและ/หรือใช้ประโยชน์ และกำหนดมาตรการในการจัดการชนิดพันธุ์เหล่านั้น สพม. สพม. - สำรวจ จัดทำทะเบียน และกำหนดมาตรการการจัดการของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในระบบนิเวศต่างๆ สพม. - ศึกษาและประเมินชนิดพันธุ์ต่างถิ่น รวมถึงจัดลำดับชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในพื้นที่อนุรักษ์3 - การศึกษาและประเมินชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในสวนพฤกษศาสตร์ สวนพฤกษศาสตร์วรรณคดี และสวนรวมพรรณไม้ป่า 16 สวน สพม. สพม. - ศึกษาเส้นทางและ/หรือวิธีการสำคัญในของการแพร่ระบาดชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน ที่มีลำดับความสำคัญสูงและผลักดันการดำเนินงานตามมาตรการในการจัดการเส้นทางและ/หรือวิธีการในการ แพร่ระบาดที่สำคัญในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงในส่วนที่ส่งผลต่อความหลากหลายของพืช

โครงการที่ดำเนินการภายใต้/ที่สอดคล้องกับ(ร่าง) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2560 แผนงาน/โครงการ ผู้รับผิดชอบ - ติดตามตรวจสอบชนิดพันธุ์ต่างถิ่นจากการนำเข้าโดยไม่เจตนา โดยเฉพาะจากการขนส่งและคมนาคม สพม. สพม. - การจัดทำช่องทางและสร้างเครือข่ายการแจ้งข้อมูลชนิดพันธุ์ต่างถิ่น - จัดทำเครื่องมืออย่างง่ายสำหรับการจำแนกชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานความหลากหลายทางชีวภาพ   สพม. สลช. - ทบทวนกฎระเบียบ กลไก จำแนกระบุและประสานงานเพื่อกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบเพื่อรองรับพันธกรณีตามพิธีสารนาโงยาฯ - จัดทำคลังข้อมูลทรัพยากรชีวภาพ (Biobank) ระดับชาติ ให้ครอบคลุมพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ รวมถึงข้อมูลบัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สพม. สพม. - รวบรวมและปรับปรุงข้อมูลชนิดพันธุ์ในประเทศไทยให้เป็นปัจจุบัน ทั้งชนิดพันธุ์พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ และเผยแพร่ในระบบเครือข่ายข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ

โครงการที่ดำเนินการภายใต้/ที่สอดคล้องกับ(ร่าง) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2560 แผนงาน/โครงการ ผู้รับผิดชอบ - ปรับปรุงข้อมูลสถานภาพชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามและใกล้สูญพันธุ์ของประเทศไทย (Thailand’s red data) สพม. - จัดทำทะเบียนรายการชื่อชนิดพันธุ์ในประเทศไทย (Checklist) โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความสำคัญ - โครงการพรรณพฤกษชาติแห่งประเทศไทย (Flora of Thailand) - จัดทำรายชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (เต็ม สมิตินันท์) ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต และแอพพลิเคชั่น (Application) - ประเมินสถานภาพพืชที่ถูกคุกคามในประเทศไทย - สำรวจ จัดจำแนก และประเมินสถานภาพชนิดพันธุ์ไม้ป่าในพื้นที่คุ้มครองตามบัญชีชนิดพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ - ประเมินสถานภาพไม้หวงห้ามที่ถูกคุกคามในแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ

โครงการที่ดำเนินการภายใต้/ที่สอดคล้องกับ(ร่าง) แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2560-2564 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2560 แผนงาน/โครงการ ผู้รับผิดชอบ สพม. - โครงการธนาคารอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์พืชที่ถูกคุกคาม (Tree Bank) : กลุ่มต้นไม้ - จัดสรรทุนเล่าเรียนสาขาอนุกรมวิธานตามความต้องการของหน่วยงาน และจัดการฝึกอบรมและดูงานด้านอนุกรมวิธานอย่างต่อเนื่อง - พัฒนาบุคลากรด้านอนุกรมวิธานพืชและนักอนุกรมวิธานสมทบ - การวิจัยด้านอนุกรมวิธานพืชในระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง พื้นที่อ่อนไหว และพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ - การวิจัยการใช้ประโยชน์พรรณไม้จากระบบนิเวศป่าบุ่ง-ป่าทาม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย - การวิจัยพรรณไม้สำคัญจากการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ตาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย - ศึกษาวิจัยชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ (เช่น ไลเคน)

การจัดซื้อจัดจ้าง วิดีโอจัดซื้อจัดจ้าง พรบ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ปี พ.ศ.2560 http://youtube/2qlx5w.PHSA