การดำเนินงาน กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
สาระสำคัญของ ร่างพระราชบัญญัติธนาคาร ที่ดิน พ. ศ..... โดย นายธรรมนิตย์ สุมันตกุล อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
กรมกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.)
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แนวทางปฏิบัติการรายงานข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่ตรวจพบ
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงาน กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ นางสุนทรี ใจสุทธิ์ พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ

ความเป็นมา กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดย สลน. (สกพส.) กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดย พช. (สกส.) จัดตั้งตาม พ.ร.บ.งบประมาณ 2555 โดย สลน. และ พม. ดำเนินการในระยะแรก ครม. มีมติเมื่อ 23 มิ.ย.58 ให้จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในกรมการพัฒนาชุมชน ภายใต้ระเบียบ สลน. ว่าด้วยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2555 ฉบับที่ 2 3 และ 4 กรมฯ ได้รับจัดสรรงบประมาณ ตาม พ.ร.บ. งบประมาณ 2559 (100 ล้านบาท) คกส. มีมติให้อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนา บทบาทสตรีแห่งชาติ (มติ คกส. 25 ต.ค.56) กรมฯ เสนอขอควบรวมกองทุนฯ ต่อกระทรวงการคลัง (5 พ.ย.58) คสช. มีมติเมื่อ 29 ก.ค.57 เห็นชอบให้โอนย้ายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ (สกพส.) ไปอยู่ที่กรมการพัฒนาชุมชน มติ ครม. 12 เม.ย.59 ให้ควบรวม กองทุน ให้ สกพส. อยู่ในกรมการพัฒนาชุมชน (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2558 ประกาศ ณ 16 ต.ค.58) มีผล 1 พ.ค.59 กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กรมการพัฒนาชุมชน สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน วัตถุประสงค์ 1. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำ ในการสร้างโอกาสให้สตรีเข้าถึงแหล่งเงินทุนสำหรับการลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจให้แก่สตรีและองค์กรของสตรี 2. เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการส่งเสริมบทบาทและพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือข่ายสตรีในการเฝ้าระวังดูแลและแก้ไขปัญหาของสตรี การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรี นำไปสู่การสร้างสวัสดิภาพ หรือสวัสดิการเพื่อคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของสตรีและผู้ด้อยโอกาสอื่นๆ ในสังคม ต่อ สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน วัตถุประสงค์ 3. เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรม ในการพัฒนาบทบาทสตรี การสร้างภาวะผู้นำ การพัฒนาองค์ ความรู้ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสังคมให้แก่สตรี และองค์กรของสตรี 4. เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อสนับสนุนโครงการอื่นๆ ที่เป็นการแก้ไข ปัญหาและพัฒนาสตรีตามที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควร สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 1 ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ว่าด้วยการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2559 2 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เกี่ยวกับคุณสมบัติการเป็นสมาชิก การขอขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิก และการพ้นจากการเป็นสมาชิกของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2559 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินประเภทเงินทุนหมุนเวียนและประเภทเงินอุดหนุนของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2559

พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี การดำเนินงานกองทุนอยู่ภายใต้ พ.ร.บ.ว่าด้วยการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 ทุนหมุนเวียนใดที่มีกฎหมายกำหนดบทบัญญัติในเรื่องใดไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้การดำเนินงานของทุนหมุนเวียนนั้นเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายมิได้บัญญัติไว้ให้นำบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ มาตรา 5 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี คณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวียน คณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวียน ( 8 คน ) โดย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธาน มีอธิบดีกรมบัญชีกลางเป็นกรรมการและเลขานุการ มาตรา 7 - ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นรองประธาน - ผอ.สำนักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจฯ ผู้ว่าการ ธ. แห่งประเทศไทย เป็นกรรมการ - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน (ครม. แต่งตั้ง) - ข้าราชการกรมบัญชีกลางที่อธิบดีฯแต่งตั้ง เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

โครงสร้างการบริหารกองทุน สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โครงสร้างการบริหารกองทุน ให้หน่วยงานของรัฐที่มีทุนหมุนเวียนที่ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลกำหนดโครงสร้างการบริหารทุนหมุนเวียนเพื่อรองรับการดำเนินงานด้านต่างๆ ตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่คณะกรรมการประกาศกำหนด มาตรา 16 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี การจัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี ให้ผู้บริหารทุนหมุนเวียนที่ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล จัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี -เพื่อนำเสนอคณะกรรมการบริหารพิจารณาอนุมัติ อย่างน้อยหกสิบวันก่อนวันเริ่มต้นปีบัญชีของทุกปี -และให้ส่งกระทรวงการคลังอย่างน้อยสามสิบวันก่อนวันเริ่มต้นปีบัญชีของทุกปีเพื่อใช้ประกอบการกำกับดูแล การบริหารทุนหมุนเวียนและติดตามการประเมินผลการดำเนินงาน มาตรา 17 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี มาตรา 18 คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน ทุนหมุนเวียนให้มีคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย 1. หัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่มีทุนหมุนเวียน เป็นประธาน 2. ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนสำนักงบประมาณ และผู้แทนหน่วยงาน เป็นกรรมการ 3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนไม่เกิน 3 คน เป็นกรรมการ (ประธานกรรมการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง) 4. ผู้บริหารทุนหมุนเวียน เป็นกรรมการและเลขาฯ

สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน มาตรา 21 (มาตรา 22) มีอำนาจแต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย 1. กำหนดนโยบาย กำกับดูแลการบริหารจัดการ และติดตามการ ดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของทุนหมุนเวียน 2. กำหนดข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงานบุคคล การเงิน การพัสดุ ตลอดจนการกำหนดค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์หรือสวัสดิการต่างๆ ของผู้บริหารทุนหมุนเวียน พนักงาน และลูกจ้างให้สอดคล้องกับ มาตรฐานที่คณะกรรมการกำหนด 3. พิจารณาอนุมัติแผนการดำเนินงานประจำปี 4. แต่งตั้งผู้บริหารทุนหมุนเวียน สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

การบัญชีและการตรวจสอบ สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี มาตรา 29 การบัญชีและการตรวจสอบ ให้ สตง. หรือบุคคลที่ สตง. ให้ความเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีของทุนหมุนเวียน และให้ทำการตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภทของทุนหมุนเวียนทุกรอบปีบัญชี ให้ผู้สอบบัญชีของทุนหมุนเวียนทำรายงานการสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการบริหารภายใน 150 วันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี ให้คณะกรรมการนำส่งรายงานการเงินพร้อมด้วยรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีต่อกระทรวงการคลังภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานจากผู้สอบบัญชี

สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ให้กรมบัญชีกลางมีหน้าที่ประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียนเป็นประจำทุกปี มาตรา 31 การประเมินผล สรุปสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ว่าด้วยการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2559 6 หมวด 29 ข้อ หมวด 1 การบริหารกองทุน (ข้อ 5-14) หมวด 2 สมาชิกกองทุนฯ (ข้อ 15-16) หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน (17-22) หมวด 4 การบัญชี การตรวจสอบ และการรายงานผล (ข้อ 23-27) หมวด 5 การประเมินผล (ข้อ 28) หมวด 6 บทเฉพาะกาล (ข้อ 29) 6 หมวด 29 ข้อ ประกาศ ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันประกาศ) สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

กลไกการขับเคลื่อน คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (คกส.) คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ระดับ จังหวัด/กทม. (อกส.จ. / อกส.กทม.) คณะทำงานขับเคลื่อน กองทุนฯ จังหวัด คณะอนุกรรมการ กลั่นกรองและติดตาม การดำเนินงานกองทุน ฯอำเภอ (อกส.อ.) คณะทำงานขับเคลื่อน กองทุนฯ กทม. คณะทำงาน ขับเคลื่อน กองทุนฯ เขต คณะทำงานขับเคลื่อน กองทุนฯ ตำบล/เทศบาล อาสาสมัครผู้ประสานงาน กองทุนฯ หมู่บ้าน/ชุมชนละ 1 คน ตาม พรบ.บริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 ตามหลักเกณฑ์ คกก. บริหาร เห็นชอบ

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน เงินและทรัพย์สินกองทุน 1. เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้ 2. เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้จากงบประมาณรายจ่าย ประจำปี 3. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับโอนมาจากกองทุนพัฒนา บทบาทสตรี สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2559 เรื่องขออนุมัติควบรวมทุนหมุนเวียน (กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี) ข้อ 6 ต่อ สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน เงินและทรัพย์สินกองทุน 4. เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ 5. เงินที่ได้รับจากต่างประเทศหรือองค์การ ระหว่างประเทศ 6. เงินหรือทรัพย์สินที่ตกเป็นของกองทุนหรือ ที่กองทุนได้รับตามกฎหมายอื่น 7. ดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่เกิดจากเงิน หรือทรัพย์สินของกองทุน ข้อ 6 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (คกส.) 1. อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นประธานกรรมการ 2. รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นรองประธาน ที่ได้รับมอบหมายให้กำกับดูแลงานกองทุน 3. ผู้แทนกระทรวงการคลัง เป็นกรรมการ 4. ผู้แทนสำนักงบประมาณ เป็นกรรมการ 5. ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง อพช.แต่งตั้ง เป็นกรรมการ โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง จำนวน 3 คน 6. ผู้อำนวยการ เป็นกรรมการและเลขานุการ ข้อ 7 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน ข้อ 9 อำนาจหน้าที่ คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 1. กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทาง ในการบริหารกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 2. พิจารณาอนุมัติแผนการดำเนินงานประจำปี 3. กำหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การเงิน การพัสดุ ตลอดจนการกำหนดค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์หรือสวัสดิการต่างๆ ของบุคลากรกองทุน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ต่อ สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน ข้อ 9 อำนาจหน้าที่ คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 4. กำกับดูแลการบริหารจัดการ และติดตามการ ดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 5. แต่งตั้งผู้อำนวยการ 6. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการ บริหารมอบหมาย สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน ข้อ 11 คณะกรรมการบริหารแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ บริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับจังหวัด และคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและติดตาม การดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอำเภอ สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี “สกส.” ข้อ 12 หน้าที่สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี “สกส.” 1. เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการบริหาร 2. ดำเนินงานต่างๆ ของกองทุน 3. ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานของกองทุน 4. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดำเนินงานของกองทุน ข้อ 13 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน หน้าที่สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี “สกส.” 5. ดำเนินการและประสานงานกับส่วนราชการ หน่วยงาน ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานของกองทุน 6. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาบุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุน 7. รวบรวมและจัดทำระบบฐานข้อมูลการดำเนินงานกองทุน 8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย ข้อ 13 ต่อ สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

ข้อ 13 วรรคสอง และ วรรคสาม หมวด 1 การบริหารกองทุน ข้อ 13 วรรคสอง และ วรรคสาม สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นสำนักงานเลขานุการคณะอนุกรรมการบริหาร กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ เป็นสำนักงานเลขานุการคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและติดตามการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอำเภอ ต่อ สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 1 การบริหารกองทุน สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เป็นสำนักงานเลขานุการคณะอนุกรรมการ บริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ข้อ 13 วรรคสอง ให้มีผู้อำนวยการคนหนึ่ง ซึ่งคณะกรรมการบริหารแต่งตั้ง ทำหน้าที่บริหารสำนักงานและบริหารกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อ 14 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

หมวด 2 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หมวด 2 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ข้อ 15  สตรีที่ประสงค์จะขอรับการช่วยเหลือ การส่งเสริมและการสนับสนุนเพื่อการพัฒนาศักยภาพสตรี เครือข่ายสตรี และองค์กรสตรี ต้องขอขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกกองทุน สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

หมวด 2 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หมวด 2 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ข้อ 16 สมาชิก มี 2 ประเภท 1. สมาชิกประเภทบุคคลธรรมดา 2. สมาชิกประเภทองค์กรสตรี หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับคุณสมบัติ การเป็นสมาชิก การขอขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิก และการพ้นจากการ เป็นสมาชิกให้เป็นไปตามที่คณะ กรรมการบริหารกำหนด สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ข้อ 17 กรมการพัฒนาชุมชนเปิดบัญชีเงินฝากไว้ที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และสำนักงานคลังจังหวัด แล้วแต่กรณี ชื่อบัญชี “กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี” เพื่อรับ-จ่ายเงินกองทุน และห้ามมิให้นำเงินไปใช้จ่ายก่อนส่งเข้าบัญชีเงินฝาก สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

คุณสมบัติการเป็นสมาชิก 1. ประเภทบุคคลธรรมดา 2. ประเภทองค์กรสตรี สตรีผู้มีสัญชาติไทย และมีอายุ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และได้ขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี มูลนิธิหรือสมาคมที่ทำงานด้านการพัฒนาสตรี ที่เป็นนิติบุคคล หรือองค์กรสตรีที่ไม่เป็นนิติบุคคลที่มีหน่วยงานราชการรับรอง มีที่ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลหรือจังหวัดที่ขอขึ้นทะเบียนไม่น้อยกว่าหกเดือน มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ และได้ขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ข้อ 17 กรมการพัฒนาชุมชนเปิดบัญชีเงินฝากไว้ที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และสำนักงานคลังจังหวัด แล้วแต่กรณี ชื่อบัญชี “กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี” เพื่อรับ-จ่ายเงินกองทุน และห้ามมิให้นำเงินไปใช้จ่ายก่อนส่งเข้าบัญชีเงินฝาก สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารไว้ที่ธนาคารกรุงไทย ออมสิน และ ธ.ก.ส. ชื่อบัญชี “กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (จังหวัด)” เพื่อรับ-จ่ายเงินของกองทุน ทุกสิ้นเดือนให้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนำเงินใน บัญชีเงินฝากธนาคารส่งเข้าบัญชีเงินฝากของกองทุนที่เปิดไว้ที่สำนักงานคลังจังหวัด ข้อ 18 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินของกองทุนให้เป็นไปเพื่อกิจการ ต่อไปนี้ 1. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนหรือแหล่งเงินทุนตาม วัตถุประสงค์ของกองทุน (การจ่ายเงินให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการบริหารกำหนด) 2. เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานและบริหารกองทุน ข้อ 19 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน หมวด 3 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน ให้ผู้อำนวยการจัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี เพื่อนำเสนอคณะกรรมการบริหารพิจารณาอนุมัติอย่างน้อยหกสิบวันก่อนวันเริ่มต้นปีบัญชีของทุกปีและส่งกระทรวงการคลังอย่างน้อยสามสิบวันก่อนวันเริ่มต้นปีบัญชีของ ทุกปี เพื่อพิจารณาอนุมัติก่อนการใช้จ่ายเงิน ข้อ 20 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

การจัดสรรแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ พ.ศ.2560 ที่ โครงการ จำนวนเงิน 1 ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ 16 อำเภอ (ประธาน 500 บาท/ครั้ง , อนุกรรมการฯ 10 คน 300 บาท/ครั้ง) จำนวน 6 ครั้ง ๆ 3,500 21,000 2 ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมคณะอนุฯอำเภอ 16 อำเภอ 12,000 3 ค่าใช้จ่ายในการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนฯ 142 ตำบล 5,000 4 ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการของคณะอนุกรรมการกลั่นกรอง ,จนท .พช.,คณะทำงานขับเคลื่อนกองทุนฯ 16 อำเภอ 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการกลั่นกรองฯ 12,600

ที่ โครงการ จำนวนเงิน 7 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานขับเคลื่อนฯ ตำบล/เทศบาล 6,300 8 เงินอุดหนุน 5,000,000 9 เงินทุนหมุนเวียน 60,000,000

ขั้นตอนการขอรับการสนับสนุนโครงการประเภทเงินทุนหมุนเวียน ขั้นที่ 1 ยื่นขอรับการสนับสนุน ขั้นที่ 2 พิจารณาอนุมัติโครงการ ขั้นที่ 3 การโอนเงินให้สมาชิก ขั้นที่ 4 การชำระคืนเงิน ขั้นที่ 5 การติดตาม/รายงานผล 1.รายงานครั้งแรกภายใน 30 วัน นับแต่ได้รับเงินโอน 2.รายงานงวด สิ้นเดือน มี.ค./ก.ย. ทุกปี สัญญาภายใน 2 ปี ชำระคืนอย่างน้อยปีละ 2 งวด สมาชิกส่งใบสำคัญรับเงินให้ สพจ. ภายใน 7 วันทำการ หลังจากได้รับการโอนเงิน ใช้เวลา 2 เดือน 1 สัปดาห์ ( อำเภอ : 1 เดือน จังหวัด : 1 เดือน 1 สัปดาห์ ) สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

หมวด 4 การบัญชี การตรวจสอบ และการรายงานผล หมวด 4 การบัญชี การตรวจสอบ และการรายงานผล ข้อ 23 คณะกรรมการบริหารจัดให้มีระบบบัญชีที่เหมาะสมตามหลักบัญชี การปิดบัญชีให้กระทำปีละครั้ง โดยถือปีงบประมาณเป็นรอบปีบัญชี สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 5 การประเมินผล คณะกรรมการบริหารจัดให้มีระบบการประเมินผลการดำเนินงานกองทุนให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการกำหนด พร้อมกับจัดให้มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงประเมินผลการดำเนินงานระหว่างคณะกรรมการบริหาร ผู้อำนวยการ พนักงาน และลูกจ้าง ตามลำดับ เพื่อใช้กำกับการปฏิบัติงาน ข้อ 28 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดทุนหมุนเวียน ด้านที่ 1 การเงิน ด้านที่ 2 ความพึงพอใจต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านที่ 3 การปฏิบัติการ ด้านที่ 4 การบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน 1.1 ร้อยละของการ ชำระคืนเงินกู้ยืม เงินทุนหมุนเวียน ตามสัญญา 1.2 ร้อยละการให้กู้ยืม เงินทุนหมุนเวียน เทียบกับแผนงาน ที่กำหนด 2.1 ความพึงพอใจ ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 3.1 การดำเนินงานตาม นโยบายรัฐบาล/ กระทรวงการคลัง 3.2 ระดับความสำเร็จ ในการดำเนินโครงการ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ 3.3 ความสามารถใน การจัดทำข้อมูลทาง การเงิน ของจังหวัด และ กทม. ประจำปี 2560 4.1 บทบาทคณะกรรมการ ทุนหมุนเวียน 4.2 การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน 4.3 การตรวจสอบภายใน 4.4 การบริหารจัดการ สารสนเทศ 4.5 การบริหารทรัพยากร บุคคล กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

ด้านที่ 1การเงิน ตัวชี้วัดที่ 1.1 : ร้อยละของการชำระ คืนเงินกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนตามสัญญา หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : ร้อยละ 10 คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ : พิจารณาจากความสามารถในการเรียกคืนเงินกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนตามสัญญา โดยพิจารณาจากสัญญาเงินกู้ยืมที่มีงวดชำระตามสัญญาที่ให้กู้ยืมในปีบัญชี 2560 ภายในปีบัญชี 2560 ทั้งหมด ที่ได้รับชำระคืนเงินกู้ยืมตามสัญญา

ค่าเกณฑ์ชี้วัด ร้อยละ เกณฑ์การให้คะแนน : กำหนดเป็นร้อยละ แบ่งเกณฑ์การให้คะแนน 5 ระดับ โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ค่าเกณฑ์ชี้วัด ร้อยละ 1 60 2 70 3 80 4 90 5 100 www.womenfund.in.th @ สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กรมการพัฒนาชุมชน

ด้านที่ 1การเงิน ตัวชี้วัดที่ 1.2 : ร้อยละการให้กู้ยืมเงินทุน หมุนเวียนเทียบกับแผนที่กำหนด คำจำกัดความ : ร้อยละของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี 2560 เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ ประจำปีบัญชี 2560 คำอธิบาย : - เงินทุนหมุนเวียน หมายถึง เงินทุนหมุนเวียนของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่โอนจัดสรรให้จังหวัดในปีบัญชี 2560 ซึ่งจะไม่รวมเงินอุดหนุน - แผนงานที่กำหนด หมายถึง จำนวนวงเงินให้กู้ยืมของเงินทุนหมุนเวียนที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจัดสรรให้แต่ละจังหวัด โดยกำหนดให้มีการอนุมัติและโอนเงินให้สมาชิกไปดำเนินการตามโครงการที่ขอรับการสนับสนุน ภายในปีบัญชี 2560 - เงินให้กู้ยืม หมายถึง จำนวนเงินทุนหมุนเวียนที่อนุมัติให้กู้ยืมและโอนเงินดังกล่าวให้สมาชิกเรียบร้อยแล้ว - ปีบัญชี หมายถึง ปีงบประมาณ โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560

จำนวนของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปี บัญชี 2560 × 100 วงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่ กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560  สูตรการคำนวณ :  เกณฑ์การให้คะแนน : กำหนดเป็นร้อยละ แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ค่าเกณฑ์ชี้วัด ร้อยละ 1 60 2 70 3 80 4 90 5 100

รายละเอียดเกณฑ์ การให้คะแนน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ร้อยละ 60 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี 2560 เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560 2 ร้อยละ 70 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี 2560 เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560 3 ร้อยละ 80 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี 2560 เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560 4 ร้อยละ 90 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี 2560 เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560 5 ร้อยละ 100 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี 2560 เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560

ตัวชี้วัดที่ 2.1 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวชี้วัดที่ 2.1 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : ร้อยละ 15 คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ : พิจารณาจากความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ สมาชิกที่ได้รับประโยชน์จากโครงการ และ กลุ่มองค์กร สูตรการคำนวณ : จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากและมากที่สุด x 100 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

กลุ่มเป้าหมายในการจัดเก็บข้อมูล - กลุ่มผู้ที่ได้รับเงินกู้ (เงินทุนหมุนเวียน) ได้แก่ สมาชิกประเภทบุคคลและประเภท องค์กรสตรีที่ได้รับการสนับสนุนทุน หมุนเวียน ปี 2560 - กลุ่มผู้ที่ได้รับเงินสนับสนุน ได้แก่ สมาชิกประเภทองค์กร ที่ได้รับการอุดหนุน ในปี 2560

การสำรวจความพึงพอใจของผู้ มีส่วนได้ส่วนเสียครอบคลุมใน ประเด็นต่างๆ 4 ด้าน ดังนี้ - ด้านความพึงพอใจเกี่ยวกับการ ให้บริการของเจ้าหน้าที่ - ด้านความพึงพอใจด้านกระบวนการ หรือ ขั้นตอน การให้บริการ - ด้านความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวย ความสะดวก - ด้านความพึงพอใจด้านอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของกองทุน พัฒนาบทบาทสตรี

เกณฑ์การให้คะแนน

ตัวชี้วัดที่ 3.2 : ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ จัดทำแผนการความสำเร็จในการดำเนินโครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์ ที่สมาชิกได้รับจากการสนับสนุนเงินกู้จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีบัญชี 2560 เทียบเท่าระดับ 1 ประสานการดำเนินงาน ร่วมกับทุก จังหวัด และ กทม. ดำเนินการตามแผนฯ เทียบเท่าระดับ 2 จังหวัด และ กทม. จัดเก็บข้อมูลตามแผนฯ และ นำส่งให้ส่วนกลางประมวลผล เทียบเท่าระดับ 3 วิเคราะห์ ประเมินผลลัพธ์ฯ และจัดทำรายงานสรุปผลความสำเร็จในการดำเนินงานที่สมาชิกได้รับจากการสนับสนุนเงินกู้จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีบัญชี 2560 เสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ เทียบเท่าระดับ 4 ผ่านเกณฑ์วัดระดับ 4 และทบทวนและจัดทำคู่มือประเมินผลลัพธ์ประเภททุนหมุนเวียน เสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ เห็นชอบ เทียบเท่าระดับ 5

ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1    2 3 4 5

ตัวชี้วัดที่ 3.3 ความสามารถในการจัดทำข้อมูล ทางการเงินของจังหวัดและ กทม. ประจำปี 2560 ตัวชี้วัดที่ 3.3 ความสามารถในการจัดทำ ข้อมูลทางการเงินของจังหวัด และ กทม. ประจำปีบัญชี 2560 (น้ำหนักร้อยละ 5) พิจารณาจากระดับความสามารถในการ จัดทำรายงานข้อมูลทางการเงินของจังหวัด และ กทม. ประจำปีบัญชี 2560 ใน 2 รายงาน ได้แก่ การจัดทำรายงานการรับ- จ่ายเงินประจำเดือน ประจำปีบัญชี 2560 และ การจัดทำแบบการยืนยันข้อมูลการใช้จ่าย เงินทุนหมุนเวียนฯ ประจำปีบัญชี 2560 โดยมี รายละเอียด ดังนี้

3.3.1 การจัดทำรายงานการรับ-จ่ายเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีประจำเดือน ประจำปีบัญชี 2560 พิจารณาจากร้อยละของจังหวัดที่มีการจัดทำรายงานประจำเดือน ประจำปีบัญชี 2560 ส่งสำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป จะต้องประกอบด้วย (1) ทะเบียนคุมการรับ-จ่ายเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด/กรุงเทพมหานคร (เงินฝากคลังในระบบ GFMIS) (2) สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคาร (Statement) ของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด/กรุงเทพมหานคร 3.3.2 การจัดทำแบบการยืนยันข้อมูลการใช้จ่ายเงินทุนหมุนเวียนฯ ประจำปีบัญชี 2560 พิจารณาจากร้อยละของจังหวัดที่สามารถจัดทำแบบการยืนยันข้อมูลการใช้จ่ายเงินทุนหมุนเวียนฯ ประจำปีบัญชี 2560 ของจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ส่งให้สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2560

ตัวชี้วัดที่ 4.1 : บทบาทคณะกรรมการทุนหมุนเวียน ตัวชี้วัดที่ 4.1 : บทบาทคณะกรรมการทุนหมุนเวียน (ตัวชี้วัดส่วนกลางจังหวัดสนับสนุนข้อมูล) ตัวชี้วัดที่ 4.2 : การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (ตัวชี้วัดส่วนกลาง) ตัวชี้วัดที่ 4.3 : การตรวจสอบภายใน (ตัวชี้วัดส่วนกลางจังหวัดสนับสนุนข้อมูล) ตัวชี้วัดที่ 4.4 : การบริหารจัดการสารสนเทศ (ตัวชี้วัดส่วนกลางจังหวัดสนับสนุนข้อมูล) ตัวชี้วัดที่ 4.5 : การบริหารทรัพยากรบุคคล (ตัวชี้วัดส่วนกลาง)

สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน หมวด 6 บทเฉพาะกาล ในระหว่างที่ยังไม่มีมาตรฐาน หลักเกณฑ์หรือแนวทางดำเนินงานที่คณะกรรมการประกาศกำหนดตามพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 หรือที่คณะกรรมการบริหารกำหนดให้เป็น ไปตามข้อบังคับนี้ ให้นำกฎ ข้อบังคับ ประกาศ ระเบียบ ของทางราชการ ซึ่งใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558 มาบังคับใช้ไปพลางก่อนได้เท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้ง จนกว่าคณะกรรมการจะได้ออกมาตรฐาน หลักเกณฑ์และแนวทางในเรื่องดังกล่าว ข้อ 29 สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

เชื่อมโยงเป้าหมาย 1. พัฒนาสตรีให้มีอาชีพที่มั่นคง เป็นอาชีพ แบบสัมมาชีพชุมชน 2. พัฒนาสตรีให้เป็นแกนนำของครอบครัว แข็งแรง ดูแลเด็กให้มีที่พึ่ง แก้ไขปัญหาของสตรีและผู้ด้อยโอกาส 3. พัฒนาสตรีให้เป็นครอบครัวตัวอย่างในการ ดำเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เชื่อมโยงการดำเนินงานสานพลังประชารัฐ / OTOP / บริษัทประชารัฐสามัคคี..

สวัสดี