งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ
การประเมินผลทุนหมุนเวียนการดำเนินงานของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปี ๒๕๖๐ โดย นางสุนทรี ใจสุทธิ์ พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ

2 ความเป็นมา กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดย สลน. (สกพส.) กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดย พช. (สกส.) จัดตั้งตาม พ.ร.บ.งบประมาณ โดย สลน. และ พม. ดำเนินการในระยะแรก ครม. มีมติเมื่อ 23 มิ.ย.58 ให้จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในกรมการพัฒนาชุมชน ภายใต้ระเบียบ สลน. ว่าด้วยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ ฉบับที่ 2 3 และ 4 กรมฯ ได้รับจัดสรรงบประมาณ ตาม พ.ร.บ. งบประมาณ 2559 (100 ล้านบาท) คกส. มีมติให้อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนา บทบาทสตรีแห่งชาติ (มติ คกส. 25 ต.ค.56) กรมฯ เสนอขอควบรวมกองทุนฯ ต่อกระทรวงการคลัง (5 พ.ย.58) คสช. มีมติเมื่อ 29 ก.ค.57 เห็นชอบให้โอนย้ายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ (สกพส.) ไปอยู่ที่กรมการพัฒนาชุมชน มติ ครม. 12 เม.ย.59 ให้ควบรวม กองทุน ให้ สกพส. อยู่ในกรมการพัฒนาชุมชน (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ฉบับที่ 4 พ.ศ ประกาศ ณ 16 ต.ค.58) มีผล 1 พ.ค.59 กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กรมการพัฒนาชุมชน สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

3 พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. 2558
ให้กรมบัญชีกลางมีหน้าที่ประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียนเป็นประจำทุกปี มาตรา 31 การประเมินผล สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (สกส.) กรมการพัฒนาชุมชน

4 ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ว่าด้วยการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2559
ข้อ 28 ให้ คณะกรรมการบริหารจัดให้มีระบบการประเมินผลการดำเนินงานกองทุนให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการกำหนด พร้อมกับจัดให้มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงประเมินผลการดำเนินงานระหว่าง คณะกรรมการบริหารผู้อำนวยการ พนักงาน และลูกจ้าง ตามลำดับ เพื่อใช้กำกับการปฏิบัติงาน

5 แผนที่ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2560-2564
แผนที่ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ “ เป็นแหล่งทุนในการพัฒนาสตรีเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น” มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ สตรีเข้มแข็งเป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็ง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มิติคุณภาพการให้บริการ สตรีมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สตรีมีรายได้เพิ่มขึ้น เครือข่ายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเข้มแข็ง สตรี องค์กรสตรี องค์กรสตรี และเครือข่ายสตรี เครือข่ายในพื้นที่ มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ เสริมสร้างอาชีพและรายได้ แก่สตรี ส่งเสริมสตรีและเครือข่าย ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต การเชื่อมโยงกับกลุ่มเครือข่าย ในพื้นที่ มิติการพัฒนาองค์การ การบริหารกองทุนมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างขีดความสามารถกองทุนฯ ตามหลักธรรมาภิบาล

6 แผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2560 - 2564
วิสัยทัศน์ : “ เป็นแหล่งทุนในการพัฒนาสตรีเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น” เป้าประสงค์/เป้าหมายหลัก : สตรีเข้มแข็งเป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก เข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 1. จัดสรรเงินทุนให้แก่สตรีและองค์กรสตรีสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ให้เข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. จัดสรรเงินทุนในการพัฒนาบทบาทสตรีให้มีขีดความสามารถในการเป็นผู้นำและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสตรีในชุมชน 3. บริหารกองทุนให้มีความมั่นคง ตามหลักธรรมาภิบาล พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1. เสริมสร้างอาชีพและรายได้แก่สตรี 1.1 การเข้าถึงปัจจัยการประกอบอาชีพ พัฒนากลุ่มอาชีพสตรี 1.3 เพิ่มช่องทางการตลาด การสื่อสารสร้างการรับรู้เพื่อความยั่งยืน 2. ส่งเสริมสตรีและเครือข่าย ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2.1 พัฒนาศักยภาพสตรี สร้างและพัฒนาเครือข่ายสตรี 2.3 ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตสตรี 3. การเชื่อมโยงกับกลุ่มเครือข่ายในพื้นที่ 3.1 สร้างภาคีความร่วมมือ พัฒนาองค์ความรู้เครือข่าย 3.3 กิจกรรมเครือข่าย 4. เสริมสร้างขีดความสามารถกองทุนฯ ตามหลักธรรมาภิบาล 4.1 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการขับเคลื่อนกองทุนฯ 4.2 พัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี 4.3 พัฒนาระบบและกลไกในการบริหารจัดการกองทุนฯ

7 การประเมินความก้าวหน้าการดำเนินงาน กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในปี 2560 แบ่งเป็น 2 ส่วน
1 บันทึกข้อตกลงกระทรวงการคลังกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 4 ด้าน 11ตัวชี้วัด 2 กรมฯ ตั้งเป้าหมายการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เสนอปลัดกระทรวงมหาดไทย 7 ประเด็น

8

9 ตัวชี้วัดทุนหมุนเวียน
ด้านที่ 1 การเงิน ด้านที่ 2 ความพึงพอใจต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านที่ 3 การปฏิบัติการ ด้านที่ 4 การบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน 1.1 ร้อยละของการ ชำระคืนเงินกู้ยืม เงินทุนหมุนเวียน ตามสัญญา 1.2 ร้อยละการให้กู้ยืม เงินทุนหมุนเวียน เทียบกับแผนงาน ที่กำหนด 2.1 ความพึงพอใจ ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 3.1 การดำเนินงานตาม นโยบายรัฐบาล/ กระทรวงการคลัง 3.2 ระดับความสำเร็จ ในการดำเนินโครงการ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ 3.3 ความสามารถใน การจัดทำข้อมูลทาง การเงิน ของจังหวัด และ กทม. ประจำปี 2560 4.1 บทบาทคณะกรรมการ ทุนหมุนเวียน 4.2 การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน 4.3 การตรวจสอบภายใน 4.4 การบริหารจัดการ สารสนเทศ 4.5 การบริหารทรัพยากร บุคคล

10 ด้านที่ 1การเงิน ตัวชี้วัดที่ 1.1 : ร้อยละของการชำระคืน เงินกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนตามสัญญา หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : ร้อยละ 10 คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ : พิจารณาจากความสามารถในการเรียกคืนเงินกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนตามสัญญา โดยพิจารณาจากสัญญาเงินกู้ยืมที่มีงวดชำระตามสัญญาที่ให้กู้ยืมในปีบัญชี 2560 ภายในปีบัญชี 2560 ทั้งหมด ที่ได้รับชำระคืนเงินกู้ยืมตามสัญญา

11 ค่าเกณฑ์ชี้วัด ร้อยละ
เกณฑ์การให้คะแนน : กำหนดเป็นร้อยละ แบ่งเกณฑ์การให้คะแนน 5 ระดับ โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ค่าเกณฑ์ชี้วัด ร้อยละ 1 60 2 70 3 80 4 90 5 100 @ สำนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กรมการพัฒนาชุมชน

12 ด้านที่ 1การเงิน ตัวชี้วัดที่ 1.2 : ร้อยละการให้กู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนเทียบ กับแผนที่กำหนด คำจำกัดความ : ร้อยละของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี 2560 เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560 คำอธิบาย : - เงินทุนหมุนเวียน หมายถึง เงินทุนหมุนเวียนของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่โอนจัดสรรให้จังหวัดในปีบัญชี 2560 ซึ่งจะไม่รวมเงินอุดหนุน - แผนงานที่กำหนด หมายถึง จำนวนวงเงินให้กู้ยืมของเงินทุนหมุนเวียนที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจัดสรรให้แต่ละจังหวัด โดยกำหนดให้มีการอนุมัติและโอนเงินให้สมาชิกไปดำเนินการตามโครงการที่ขอรับการสนับสนุน ภายในปีบัญชี 2560 - เงินให้กู้ยืม หมายถึง จำนวนเงินทุนหมุนเวียนที่อนุมัติให้กู้ยืมและโอนเงินดังกล่าวให้สมาชิกเรียบร้อยแล้ว - ปีบัญชี หมายถึง ปีงบประมาณ โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม กันยายน 2560

13 ค่าเกณฑ์ชี้วัดร้อยละ
จำนวนของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี × 100 วงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ ประจำปีบัญชี 2560  สูตรการคำนวณ :  เกณฑ์การให้คะแนน : กำหนดเป็นร้อยละ แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ค่าเกณฑ์ชี้วัดร้อยละ 1 60 2 70 3 80 4 90 5 100

14 รายละเอียดเกณฑ์การ ให้คะแนน
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ร้อยละ 60 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560 (36 ล้านบาท) 2 ร้อยละ 70 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี 2560 (42 ล้านบาท) 3 ร้อยละ 80 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี (48 ล้านบาท) 4 ร้อยละ 90 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี (54 ล้านบาท) 5 ร้อยละ 100 ของเงินที่ให้การกู้ยืม ในปีบัญชี 2560 เทียบกับวงเงินการให้กู้ยืมตามแผนงานที่กำหนดไว้ประจำปีบัญชี (60 ล้านบาท)

15 ตัวชี้วัดที่ 2.1 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : ร้อยละ 15 คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ : พิจารณาจากความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ สมาชิกที่ได้รับประโยชน์จากโครงการ และ กลุ่มองค์กร สูตรการคำนวณ : จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากและมากที่สุด x 100 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

16 กลุ่มเป้าหมายในการจัดเก็บข้อมูล
- กลุ่มผู้ที่ได้รับเงินกู้ (เงินทุนหมุนเวียน) ได้แก่ สมาชิกประเภทบุคคลและประเภท องค์กรสตรีที่ได้รับการสนับสนุนทุนหมุนเวียน ปี 2560 - กลุ่มผู้ที่ได้รับเงินสนับสนุน ได้แก่ สมาชิกประเภทองค์กร ที่ได้รับการอุดหนุน ในปี 2560

17 การสำรวจความพึงพอใจของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียครอบคลุมในประเด็น ต่างๆ 4 ด้าน ดังนี้ - ด้านความพึงพอใจเกี่ยวกับการ ให้บริการของเจ้าหน้าที่ - ด้านความพึงพอใจด้านกระบวนการ หรือ ขั้นตอน การ ให้บริการ - ด้านความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความ สะดวก - ด้านความพึงพอใจด้านอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของกองทุน พัฒนาบทบาทสตรี

18 เกณฑ์การให้คะแนน

19 ตัวชี้วัดที่ 3.2 : ระดับความสำเร็จในการดำเนิน โครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
จัดทำแผนการความสำเร็จในการดำเนินโครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์ ที่สมาชิกได้รับจากการสนับสนุนเงินกู้จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีบัญชี 2560 เทียบเท่าระดับ 1 ประสานการดำเนินงาน ร่วมกับทุก อำเภอดำเนินการตามแผนฯ เทียบเท่าระดับ 2 จังหวัด จัดเก็บข้อมูลตามแผนฯ และนำส่งให้ส่วนกลางประมวลผล เทียบเท่าระดับ 3 วิเคราะห์ ประเมินผลลัพธ์ฯ และจัดทำรายงานสรุปผลความสำเร็จในการดำเนินงานที่สมาชิกได้รับจากการสนับสนุนเงินกู้จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประจำปีบัญชี 2560 เสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ส่วนกลางดำเนินการอำเภอและจังหวดสนับสนุนข้อมูล) เทียบเท่าระดับ 4 ผ่านเกณฑ์วัดระดับ 4 และทบทวนและจัดทำคู่มือประเมินผลลัพธ์ประเภททุนหมุนเวียน เสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ เห็นชอบ(ส่วนกลางดำเนินการอำเภอและจังหวดสนับสนุนข้อมูล) เทียบเท่าระดับ 5

20 เป้าหมายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เสนอปลัดกระทรวงมหาดไทย
1 การเพิ่มสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี(บุคคลธรรมดา ร้อยละ 20 , องค์กรอย่างน้อยอำเภอละ 2องค์กร) 2 การอนุมัติเงินทุนตามแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายประจำปี(ประเภทเงินทุนหมุนเวียน เงินอุดหนุน) 3 การบริหารหนี้ค้างชำระตามสัญญาลดลงร้อยละ 60

21 การเกิดกลุ่มอาชีพใหม่ (35 กลุ่ม)
4 การพัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิต (จำนวน คน เฉลี่ยคณะขับเคลื่อน 6 คน 5 การเกิดกลุ่มอาชีพใหม่ (35 กลุ่ม) 6 การเกิดเครือข่ายกลุ่มอาชีพ (16 เครือข่าย) 7 การประเมินทุนหมุนเวียนตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงการคลัง

22 งานสำคัญต้องเร่งรัดดำเนินการ
ประเภทงาน ทำอย่างไร 1. การติดตามหนี้ 1. กำหนดมาตรการติดตามหนี้ ) เร่งรัดการชำระหนี้ ) ไกล่เกลี่ยตามความจำเป็น ) แจ้งความดำเนินคดี / ฟื้นฟูกลุ่มที่สามารถพัฒนาได้ ) จัดทำระบบชำระหนี้ผ่านธนาคาร (Bill payment) ) ระบบติดตามโดยผู้ตรวจราชการ/คณะทำงาน ) รายงานผลความก้าวหน้าทุกเดือน

23 งานสำคัญต้องเร่งรัดดำเนินการ
ประเภทงาน ทำอย่างไร 2. การสร้างความเป็นกลางในการบริหารกองทุนฯ 1. มีการบริหารงานโดย อกส.จ. / อกส.อ มาจากภาคราชการ โดยตำแหน่ง เป็นส่วนใหญ่ - ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ไม่มีตำแหน่งทางการเมือง 2. มี อกส.อ. เป็นผู้กลั่นกรองโครงการ/ติดตามผล การดำเนินงานในพื้นที่อย่างใกล้ชิด 3. การคัดเลือกคณะทำงานขับเคลื่อนฯ แต่ละระดับ มาจากมติที่ประชุมสมาชิกกองทุน 4. ใช้สถานที่ราชการเป็นสำนักงานเลขานุการฯอกส.จ./อกส.อ.

24 งานสำคัญต้องเร่งรัดดำเนินการ
ประเภทงาน ทำอย่างไร 3. การเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ กองทุนฯ 1. สื่อสารสร้างความรู้แก่สมาชิกนำเงินกองทุน ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ 2. สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพ อำเภอละ 1 เครือข่าย 3. การพัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิต 4. การเกิดกลุ่มอาชีพใหม่ และผลิตภัณฑ์ของสตรีลงทะเบียน OTOP 5.การดำเนินงานตามแผนดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2560

25 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt พัฒนาการจังหวัดชัยภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google