รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
KM AAR.
Advertisements

คลังความรู้สำนักชลประทานที่ 17
ไม่แสดงให้เห็นว่ามีแนวคิดในการปรับปรุง PMQA Learning ระดับ 0 No evidence.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหารระดับกระทรวง กรม และจังหวัด กุมภาพันธ์ 2549 สำนักงาน ก.พ.ร.
KNOWLEDGE MANAGEMENT WORKSHOP WORKSHOP CHONBURI CHONBURI 24 FEB FEB 2006.
การจัดการความรู้ทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลราชวิถี
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
วิธีการแก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลด้านขนาดสินค้า ในระบบ Seller Center
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การจัดการองค์ความรู้
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
งานจัดการเรียนการสอน
การขนส่งสารเคมี และ อุบัติเหตุจากการขนส่ง
การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA
กลุ่มงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำนักเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
การประชุมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา รหัส 61
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
PMQA. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดรัง
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
การนำเสนอผลงานการวิจัย
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด สาขา เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่
องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)
กระทรวงศึกษาธิการ.
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
รายงานการใช้เอกสารประกอบการเรียน วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
ปัจจัยต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการพัฒนา ที่มีผลกระทบกับทรัพยากร
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
โดย การอภิปราย “แนวทางการปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาตฯ (รง.4)”
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2550 (1 ตุลาคม 2549 - 30 กันยายน 2550) โดย สำนักนโยบายและพัฒนาระบบบริหาร

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 1.8 ระดับความสำเร็จของการป้องกันและควบคุมมลพิษตามกฎหมาย น้ำหนัก : ร้อยละ 1.5 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1 2 3 4 5 ผลการดำเนินงาน - สข.1-5 ตรวจสอบโรงงานเป้าหมาย 50 โรงงาน ผลปรากฏว่าปฏิบัติตามกฎหมายได้ร้อยละ 100

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ มี 4 ตัวชี้วัด คือ 2.1 ร้อยละของสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย 2.2 ร้อยละจำนวนเรื่องร้องเรียนของสถานประกอบการที่ได้รับการสั่งการแก้ไข และมีการติดตามผล 2.3 ร้อยละของสถานประกอบการเป้าหมายที่เพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงาน 2.4 จำนวนประกอบการที่นำหลักการใช้เทคโนโลยีสะอาดมาประยุกต์ใช้

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 2.1 ร้อยละของสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย น้ำหนัก : ร้อยละ 4 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 86 88 90 92 94 ผลการดำเนินงาน - กรอ. ตรวจ 9,638 ราย สั่งการ 240 ราย - กพร. ตรวจ 1,437 ราย สั่งการ 75 ราย ร้อยละของโรงงานที่ถูกกฎหมาย = = 97.16 10,760 11,705 100 x

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 2.2 ร้อยละจำนวนเรื่องร้องเรียนของสถานประกอบการที่ได้รับการสั่งการ แก้ไขและมีการติดตามผล น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 86 89 92 95 98 ผลการดำเนินงาน - สั่งการ 83 ราย ตามผลภายในกำหนด 83 ราย = ร้อยละ 100 สำหรับ กพร. ยังไม่มีข้อมูล

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 2.3 ร้อยละของสถานประกอบการเป้าหมายที่เพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 4 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 29 30 31 32 ผลการดำเนินงาน - กรอ. ตรวจสอบโรงงานในโครงการ 450 ราย [ กพร.จัดทำแผนเสร็จตามกำหนด ] - จำนวนสถานประกอบการที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ = 166 ราย คิดเป็นร้อยละ = 166 x 100 = 36.89 450

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 2.4 จำนวนประกอบการที่นำหลักการใช้เทคโนโลยีสะอาดมาประยุกต์ใช้ น้ำหนัก : ร้อยละ 4 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 4 6 8 10 12 ผลการดำเนินงาน - โรงงานที่นำหลักการ CT มาประยุกต์ใช้ 12 โรงงาน

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุ เป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกรม มีทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด 3.1 จำนวนโรงงานเป้าหมายที่มีการจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างถูกต้อง 3.2 ปริมาณการใช้สาร CFCs (เมตริกตัน) 3.3 ร้อยละของโรงงานในลุ่มน้ำสายหลักที่คุณภาพน้ำทิ้งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 3.4 จำนวนโรงงานที่ได้รับการยกระดับตามมาตรฐานโรงงานชั้นดี 3.5 ร้อยละของห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของเอกชนที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจสอบ กำกับดูแลตามแผน 3.6 ร้อยละของจำนวนโรงงานที่จัดส่งรายงานการประเมินความเสี่ยงใน โรงงานอุตสาหกรรม

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3.1 : จำนวนโรงงานเป้าหมายที่มีการจัดการกากอุตสาหกรรม อย่างถูกต้อง น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1,700 โรง 1,950 โรง 2,200 โรง 2,450 โรง 2,700 โรง ผลการดำเนินงาน จำนวนโรงงานที่ได้รับการจัดการกากอย่างถูกต้อง 3,677 โรงงาน

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3.2 : ปริมาณการใช้สาร CFCs (เมตริกตัน) น้ำหนัก : ร้อยละ 4 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1,012 MT 962 MT 912 MT 862 MT 812 MT ผลการดำเนินงาน - มีการนำเข้าสาร CFCs = 240.534 เมตริกตัน (ตั้งแต่ 1 มกราคม - 30 กันยายน 2550)

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3.3 : ร้อยละของโรงงานในลุ่มน้ำสายหลักที่มีคุณภาพน้ำทิ้ง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 75 ร้อยละ 76 ร้อยละ 77 ร้อยละ 78 ร้อยละ 79 ผลการดำเนินงาน โรงงานที่มีการเก็บตัวอย่างน้ำทิ้งไปวิเคราะห์ (50 ลบ.ม.ขึ้นไป) 481 โรงงาน โรงงานที่มีน้ำทิ้งเป็นไปตามมาตรฐาน 403 โรงงาน ร้อยละโรงงานที่มีคุณภาพน้ำทิ้งเป็นไปตามเกณฑ์ = 83.78

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3.4 : จำนวนโรงงานที่ได้รับการยกระดับตามมาตรฐาน โรงงานชั้นดี น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 113 โรงงาน 118 โรงงาน 123 โรงงาน 128 โรงงาน 133 โรงงาน ผลการดำเนินงาน ดำเนินการยกระดับได้ 135 โรงงาน

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3.5 : ร้อยละของห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของเอกชนที่ ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจสอบกำกับดูแลตามแผน น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ตรวจสอบแล้วเสร็จร้อยละ 100 ของแผนที่กำหนดไว้ (100 ราย)

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 3.6 : ร้อยละของจำนวนโรงงานที่จัดส่งรายงานประเมิน ความเสี่ยงในโรงงานอุตสาหกรรม น้ำหนัก : ร้อยละ 4 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน  จำนวนโรงงานที่จัดส่งรายงานมาให้ กรอ. 309 โรงงาน รายงานประเมินความเสี่ยงผ่านการตรวจสอบแล้ว 309 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 100

มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ น้ำหนัก : ร้อยละ 5 ผลการดำเนินงาน 1. กรอ.ได้นำเสนอกระบวนงาน 3 กระบวนงาน คือ การต่ออายุใบอนุญาตนำเข้า/ส่งออกวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลระบบบำบัดมลพิษ (นิติบุคคล) การต่อทะเบียนวิศวกรตรวจทดสอบหม้อไอน้ำ 2. รอการประเมินผลจากสำนักงาน ก.พ.ร.

มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามา มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 4 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินงาน - ดำเนินการถึงขั้นตอนที่ 5

ตัวชี้วัดที่ 7 : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ มี 2 ตัวชี้วัด มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 7 : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ มี 2 ตัวชี้วัด 7.1 ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ 7.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต

ตัวชี้วัดที่ 7.1 : ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 7.1 : ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินการ  ตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสาร / ตั้งคณะกรรมการ  จัดระบบข้อมูลข่าวสารตาม พ.ร.บ.ข้อมูลฯ  จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายข้อมูลข่าวสาร  ประชาสัมมพันธ์  ดำเนินการถึงระดับ 5

มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 7.2 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต น้ำหนัก : ร้อยละ 3 7.2.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ/แผนปฏิบัติ การป้องกันการทุจริต 7.2.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อมูลเรื่องกล่าวหา/ข้อร้องเรียน เกี่ยวกับการทุจริตฯ 7.2.3 ร้อยละของจำนวนการสอบสวนที่ดำเนินการได้ครบถ้วนสมบูรณ์

มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 7.2.1 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ/ แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต น้ำหนัก : ร้อยละ 1 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 130 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1 2 3 4 5 ผลการดำเนินการ  ดำเนินการตามแผน ปปช. แล้วเสร็จถึงระดับ 4

มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 7.2.2 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อมูลเรื่อง กล่าวหา/ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตฯ น้ำหนัก : ร้อยละ 1 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินการ  จัดทำข้อมูลตามแบบ ขท.01 ส่งให้ ปปช. ตามกำหนดระยะเวลา เสร็จขั้นตอนที่ 5

มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 7.2.3 : ร้อยละของจำนวนการสอบสวนที่ดำเนินการ ได้ครบถ้วนสมบูรณ์ภายในระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก : ร้อยละ 1 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 40 50 60 70 80 ผลการดำเนินการ  ไม่มีสำนวนการสอบสวน

ตัวชี้วัดที่ 8 : ระดับของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย ลงทุน มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 8 : ระดับของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย ลงทุน น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 69 ร้อยละ 71 ร้อยละ 73 ร้อยละ 75 ร้อยละ 77 ผลการดำเนินงาน  เบิกจ่ายค่าครุภัณฑ์แล้วร้อยละ 90.90 อยู่ในระดับ 5

มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 9 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงานของส่วนราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินการ ประหยัดไฟฟ้าได้ร้อยละ 22.74 ใช้น้ำมันเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.35 ระดับคะแนนที่ได้ 3.5

ตัวชี้วัดที่ 10 : การลดระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 10 : การลดระยะเวลาการให้บริการ มี 2 ตัวชี้วัด 10.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบ ระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการ 10.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินตาม ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานของ ส่วนราชการ

มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 10.1 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการ ลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 2 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 10 ร้อยละ 20 ร้อยละ 30 ร้อยละ 40 ร้อยละ 50

ตัวชี้วัดที่ 10.1 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบ ระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ผลการดำเนินงาน กระบวนงาน เวลาเดิม (วัน) เป้าหมายที่ลด (วัน) ทำได้จริง คิดเป็น % ที่ลดได้ 1. การขึ้นทะเบียนบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม 19 9 6.3 94.42 2. การขึ้นทะเบียนเป็นวิศวกรควบคุมและ อำนวยการใช้หม้อไอน้ำ 7 3.5 1.89 100 3. การขออนุญาตนำเข้าส่งออกวัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 30 20 12.83 84.72 4. การขออนุญาตผลิตวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 60 21 15.42 89.72 ลดได้จริงทั้ง 4 กระบวนงาน คิดเป็นร้อยละ 92.04

ผลดำเนินการอยู่ในระดับ 4.58 ตัวชี้วัดที่ 10.2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการ ดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติงานของส่วนราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 2 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1 2 3 4 5 ผลการดำเนินงาน  ดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงสำหรับประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 2 จำนวน 5 แผนงาน ผลดำเนินการอยู่ในระดับ 4.58

ตัวชี้วัดที่ 10.2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการ ดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติงานของส่วนราชการ แผนงาน คะแนน ที่ได้ คะแนนถ่วงน้ำหนัก 1.ปรับปรุงกฎหมาย 4 0.80 2. E-learning 3. เตรียมข้อมูลสำหรับการเจรจาต่อรอง 5 1.00 4. ศึกษาข้อมูลวัตถุดิบรีไซเคิล 5. รณรงค์เผยแพร่สร้างความเข้าใจ 4.9 O.98

มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 12 : ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุน ประเด็นยุทธศาสตร์ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินงาน  จัดทำแผนการจัดการความรู้ประจำปี 2550 แล้วเสร็จ นำเสนออธิบดีอนุมัติ และนำส่งสำนักงาน ก.พ.ร.แล้วเมื่อ 26 เมษายน 2550  ดำเนินการตามแผนแล้วเสร็จ  ตัวชี้วัดที่ 2.2 และ 2.3 ที่คัดเลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ ดำเนินงานในระดับ 5

ตัวชี้วัดที่ 13 : การจัดการทุนด้านมนุษย์ มี 3 ตัวชี้วัด มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 13 : การจัดการทุนด้านมนุษย์ มี 3 ตัวชี้วัด 13.1 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล 13.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการ ตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากรของส่วนราชการ 13.3 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของ ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล

มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 13.1 : ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบการบริหาร ทรัพยากรบุคคล น้ำหนัก : ร้อยละ 2 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินงาน ดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ พ.ศ.2551-2553 แล้วเสร็จ ส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร.เมื่อ 31 สิงหาคม 2550

มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 13.2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการ ดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1 2 3 4 5 ผลการดำเนินงาน ดำเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากรตาม Blueprint for Change จำนวน 2 แผน คือ - แผนที่ 1 แผนงานการพัฒนาบุคลากร - แผนที่ 2 แผนการสร้าง Knowledge Center

มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 13.3 : ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและ เป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล น้ำหนัก : ร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินงาน จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ จัดทำคำรับรองระหว่าง อรอ. กับ ผอ.สำนัก/กอง ประกาศหลักเกณฑ์ / แนวทางการจัดสรร จัดสรรสิ่งจูงใจตามหลักเกณฑ์

ตัวชี้วัดที่ 14 : ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการสารสนเทศ ของส่วนราชการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 14 : ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการสารสนเทศ ของส่วนราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 4 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1 2 3 4 5 ผลการดำเนินการ ทบทวน / วิเคราะห์ระบบฐานข้อมูล, จัดทำแผนปฏิบัติการมีคุณภาพและเนื้อหา ครอบคลุมทั้ง 3 ประเด็นหลัก และ 10 ประเด็นย่อย ดำเนินการตามแผนได้ร้อยละ 100

มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 15 : การพัฒนากฎหมาย มี 2 ตัวชี้วัด 15.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย 15.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการ ดำเนินการตามแผน

ตัวชี้วัดที่ 15.1 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนา กฎหมาย มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 15.1 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนา กฎหมาย น้ำหนัก : ร้อยละ 1.5 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินงาน  ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย 7 ฉบับ แล้วเสร็จ

มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 15.2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของการดำเนินการตามแผน น้ำหนัก : ร้อยละ 3.5 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ผลการดำเนินงาน  ดำเนินการจัดทำร่างกฎหมายทั้ง 7 ฉบับ แล้วเสร็จ เสนอ อก.พิจารณา

มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 16 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนัก : ร้อยละ 5 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1 2 3 4 5 ผลการดำเนินงาน  ดำเนินการทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร, การดำเนินงาน PMQA 7 หมวด หาจุดอ่อนและโอกาสการปรับปรุง กำหนดแผนปรับปรุงองค์ 4 แผน ดำเนินการตามแผนแล้วเสร็จ