งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA
โดย ดร.พิธาน พื้นทอง หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 11-Jan-10

2 เนื้อหา ความรู้ การจัดการความรู้ การจัดการความรู้ตามแนว PMQA 18-Jan-19

3 คลื่นการเปลี่ยนแปลงของโลก
ค.ศ ค.ศ ค.ศ.1965 คลื่นลูกที่หนึ่ง (“เกษตรกรรม” สร้างความมั่งคั่ง) คลื่นลูกที่สอง (“อุตสาหกรรม” สร้างความมั่งคั่ง) คลื่นลูกที่สาม (“การปฏิวัติความรู้”) - คลื่นของการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเมื่อโลกมีการ เปลี่ยนแปลงระบบการสร้างความมั่งคั่ง (system of wealth creation) 18-Jan-19

4 Organizational Evolution
Learning The Learning Organizational Effectiveness The Performance-Based Organization Peter Senge, 1999 Efficiency Peter Druckers, 1964 The Bureaucratic Organization Max Weber, 1947 1900 1950 2000 Organizational Evolution 18-Jan-19 ดัดแปลงจากสุรสิทธิ์ เหมตะศิลป์

5 สำนัก/สพท.ของท่านมีปัญหาเหล่านี้หรือไม่
เมื่อมีบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออก มักมีผลกระทบกับงาน ใช้เวลานานในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งส่วนใหญ่หาไม่พบ หรือถ้าพบข้อมูลก็ไม่ทันสมัย ไม่สมบูรณ์ มีข้อมูลสารสนเทศท่วมท้น แต่ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง องค์การยังไม่สามารถนำการจัดการความรู้ไปใช้ได้อย่างเนียนไปกับเนื้องาน จึงถูกมองว่าเป็นอีกงานหนึ่งและรู้สึกว่าเป็นภาระที่เพิ่มขึ้น องค์กรยังมีวัฒนธรรมแบบไม่เปิดโอกาสให้บุคลากรได้ร่วมคิดและแสดงความคิดเห็น หรือยังไม่ยอมรับเหตุผลและความคิดของผู้อื่น 18-Jan-19

6 18-Jan-19

7 18-Jan-19

8 18-Jan-19

9 กระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์
ก่อนการ เรียนรู้ ปัญญา ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความสุข 18-Jan-19

10 18-Jan-19

11 แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร (คลังความรู้)
แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร (คลังความรู้) ฐานข้อมูลความรู้ (Knowledge Base, IT) เอกสาร ( ) เอกสาร(กระดาษ) 18-Jan-19

12 องค์ประกอบของการจัดการความรู้
คน กระบวนการ เทคโนโลยี The keys to Competitive Advantage 2003 18-Jan-19

13 องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้
1. คน ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด - เป็นแหล่งความรู้ - เป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บ แลกเปลี่ยนนำความรู้ไปใช้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วขึ้น 3. กระบวนการความรู้ เป็นการบริหารจัดการเพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม 18-Jan-19

14 การจัดการความรู้ Right People Right Time
การบริหารจัดการเพื่อให้ “คน” ที่ต้องการใช้ความรู้ ได้รับความรู้ที่ต้องการใช้ ในเวลาที่ต้องการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการทำงาน Right Knowledge Right People Right Time การจัดการความรู้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการทำงานขององค์กรและบุคคลนั้น จะต้องเป็นการจัดการ “ความรู้” ที่ถูกต้อง ให้กับ “คน” ที่ต้องการใช้ความรู้นั้น และสิ่งสำคัญคือ ต้องได้ใช้ความรู้นั้นใน “เวลา” ที่เขาต้องการ นั่นคือ เราควรจะมีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ เช่น รู้ว่าอะไรคือความรู้ที่จำเป็น มีการจัดการความรู้เหล่านั้นให้เป็นระบบแล้ว คนที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงความรู้ และนำความรู้มาแลกเปลี่ยนแบ่งปันกัน ได้เป็นความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ (Source: APQC) 18-Jan-19

15 เป้าหมายการจัดการความรู้
องค์กร บรรลุเป้าหมาย มีประสิทธิภาพ การทำงาน ประสิทธิผล (บรรลุป้าหมาย) คนและองค์กรเก่งขึ้น คน คิดเป็น ทำเป็น 18-Jan-19

16 ความรู้ 2 ยุค ยุคที่ 1 ยุคที่ 2 โดยนักวิชาการ โดยผู้ปฏิบัติ
เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ ความเป็นวิทยาศาสตร์ ความรู้เฉพาะสาขา ยุคที่ 2 โดยผู้ปฏิบัติ เน้นประสบการณ์ตรง ความรู้บูรณาการ 18-Jan-19

17 การพัฒนาคน พัฒนา งาน พัฒนาองค์กร องค์กรสูญเสียความรู้ไปกับบุคลากร
คุณภาพการศึกษา การพัฒนาคน พัฒนา งาน พัฒนาองค์กร ทำไมต้อง KM มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบราชการ กพร. องค์กรสูญเสียความรู้ไปกับบุคลากร นวัตกรรมและเทคโนโลยี ในโลกโลกาภิวัตน์ หลักการและจุดมุ่งหมายการปฏิรูปการศึกษา 18-Jan-19

18 จุดประสงค์การทำ KM ผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพ
BSI Study: KM in Public Sector จุดประสงค์การทำ KM ของภาครัฐ โดยอ้างถึง BSI Study คือ มีจุดประสงค์ในการทำ KM เพื่อ - ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการ - ผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรม - เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน - ช่วยให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร - เรียนรู้เกี่ยวกับความต้องการของผู้ใช้บริการได้ดีขึ้นและ เร็วขึ้น ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการ ผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงาน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร เรียนรู้เกี่ยวกับความต้องการของผู้ใช้บริการได้ดีขึ้นและ เร็วขึ้น 18-Jan-19

19 การจัดการความรู้ในองค์กร
18-Jan-19

20 18-Jan-19

21 18-Jan-19

22 18-Jan-19

23 18-Jan-19

24 18-Jan-19

25 ผลลัพธ์ของการจัดการความรู้
เพิ่มศักยภาพในการตัดสินใจ สร้างการยอมรับ เกิดความยืดหยุ่น ประโยชน์ที่ได้รับ นวัตกรรม ที่มา: The Cap Gemini Ernst & Young เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล พัฒนาคุณภาพ ลดการทำงานซ้ำซ้อน การกระจายอำนาจ สัดส่วนผู้เห็นด้วย 18-Jan-19 50% 60% 70% 80% 90%

26 จะ “จัดการ” กับความรู้ 2 ประเภทนี้อย่างไร?
Access/Validate Create/Leverage เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ Explicit Knowledge Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน วิชาการ หลักวิชา เคล็ดวิชา ภูมิปัญญา ทฤษฎี ปริยัติ ปฏิบัติ ประสบการณ์ store วิเคราะห์ วิจัย apply/utilize วิจารณญาณ ปฏิภาณ Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share 18-Jan-19 ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด

27 Knowledge Sharing (KS)
องค์ประกอบหลักของ KM TUNA Model (Thai –UNAids Model) ของ สคส. Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision (KV) Knowledge Assets (KA) 18-Jan-19

28 Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน
ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” 18-Jan-19 ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

29 Knowledge Sharing จาก KV สู่ KS KS ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด
ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน เป็นส่วนที่สำคัญมากเพราะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเวทีจริง และเวทีเสมือนเช่นผ่านเครือข่าย Internet 18-Jan-19

30 ปัจจัยความสำเร็จของ KS
“เรื่องเล่าเร้าพลัง” Storytelling บรรยากาศ ผู้เล่า ผู้ฟัง ผู้บันทึก 18-Jan-19 ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

31 จาก KS สู่ KA ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Assets ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด 18-Jan-19

32 คนหลายๆ คน รวมกันเป็นชุมชน...เป็น CoPs
Communities of Practices กลุ่มคนที่สนใจ เรื่องใด เรื่องหนึ่ง… มีปัญหาร่วมกัน แสวงหาบางอย่างร่วมกัน มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ใน เรื่องที่สนใจร่วมกัน ผอ.ร.ร./CKO What is a community of practice Are seen as the heart and soul of KM as this is where knowledge is primarily shared, ideas are exchanged and new and better ways of doing business are discussed. This is also where knowledge is captured and synthesized. The model in a way allows an organization to have a much greater reach in knowledge. In order for it to work, people must see the value in sharing knowledge and be willing to share knowledge themselves. Here at the OERU, we’ve seen the work of communities of practice in groups such as the Curriculum TAC and the ICT tack which has brought about a number of policy documents, training and workshop sessions on pertinent issues. Responsibilities in Community of Practice คุณอำนวย/ Facilitators ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน 18-Jan-19

33 การเรียนรู้จาก “เครือข่าย”
เครือข่ายครู เครือข่ายผู้ปกครอง เครือข่ายโรงเรียน เครือข่าย Made up SNA for various CMOs– it was from a petroleum company with groups from various countries trying to form a CoP. I could talk about F-22 project pilot project with new portal where we could start a new CoP after SNA and identifying Central connectors as the CoP administrators. เครือข่าย 18-Jan-19 ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

34 โรงพยาบาลบ้านตาก 18-Jan-19

35 แบบจำลองการจัดการความรู้ (KM Model)
ความรู้จากภายนอก คว้า เลือก ใช้การจัดการความรู้ ยกระดับความรู้ กำหนดเป้าหมาย ของงาน งานบรรลุเป้าหมาย จัดเก็บ ปรับปรุง ค้นหา คลังความรู้ (ภายใน) สคส. 18-Jan-19

36 After Action Review Peer Assist Retrospect 18-Jan-19

37 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

38 ความเชื่อมโยงของระบบจัดการกับเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Capacity Building การบริหารความเสี่ยง พัฒนาองค์กร การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) Individual Scorecard คุณภาพ 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การวิเคราะห์(Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management e-government MIS 18-Jan-19

39 สื่อสารผล การวิเคราะห์ การจัดการสารสนเทศ IT และความรู้
หมวด 4 ระบบการวัด ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6) Daily Management - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) เลือกข้อมูลสารสนเทศ IT 1 - 3 นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) การวัด การวิเคราะห์ วิเคราะห์ผล วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) สื่อสารผล การวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (4) วางระบบการจัดการ - ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน - การเข้าถึง - เชื่อถือได้ - ปลอดภัย - ใช้งานง่าย IT 4 IT 5,6 สอดคล้องตาม OP (15) IT 7 การจัดการสารสนเทศ IT และความรู้ การจัดการความรู้ ความรู้ บุคลากร ข้อมูลสารสนเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 1 รวบรวม ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น จัดให้เป็นระบบ Best Practices 18-Jan-19 ถ่ายทอด/Sharing

40 18-Jan-19

41 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
(Information and Technology) รหัส แนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 9 (3)) IT2 ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ไม่น้อยกว่า 4 กระบวนการ IT3 ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ 18-Jan-19

42 รหัส แนวทางการดำเนินการ
การจัดการ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ IT4 ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 39)) IT5 ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนดระบบการเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น IT6 ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT7 ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ ความแตกต่างของเกณฑ์ FL ในปี 2552 และ ปี IT 1-6 ปรับประเด็นการพิจารณา(ส่วนที่ 3) ให้มีความชัดเจนขึ้น IT 2-3 เน้นเรื่องการทบทวนข้อมูลสารสนเทศ หมายเหตุ 18-Jan-19

43 ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 4
IT 1 ระบบการจัดเก็บข้อมูลต้องระบุแหล่งข้อมูลของตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ความถี่ในการ update ข้อมูล IT 2 นอกจากจัดเก็บฐานข้อมูลกระบวนการที่สร้างคุณค่าใหม่แล้ว ต้องมีการทบทวนฐานข้อมูลของกระบวนการเดิมด้วย IT 3 IT 3 ใช้วิธีการเช่นเดียวกับ IT 2 แต่เป็นกระบวนการสนับสนุน โดยมุ่งเน้นให้ ส่วนราชการจัดทำฐานข้อมูลตามหลักเกณฑ์ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 4 วัตถุประสงค์ของ IT 4 เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของส่วนราชการผ่านระบบเครือข่าย IT (ซึ่งจะส่งผลต่อ RM 4.1) IT 5 วัตถุประสงค์ของ IT 5 เพื่อต้องการให้ส่วนราชการมีระบบ warning ของระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อให้ทราบผลการดำเนินการ และปรับเปลี่ยนได้อย่างทันท่วงที IT 6 แสดงระบบ security ให้เห็น เช่น Anti-virus ไฟฟ้าสำรอง firewall และแสดง แผน IT Contingency Plan โดยพิจารณาคุณภาพของแผน (รายละเอียดกิจกรรม /เป้าหมายกิจกรรม / ตัวชี้วัด /ผู้รับผิดชอบ / งบประมาณ / ระยะเวลาดำเนินการ) IT 7 การจัดการความรู้ โปรดดูรายละเอียดภาคผนวก จ-1 เล่มคู่มือ มีตัวอย่างอย่างละเอียด 18-Jan-19

44 เกณฑ์การให้คะแนน(ร้อยละ)
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน(ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านประสิทธิผล RM 1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (อย่างน้อยด้านละ 1 มาตรการ/โครงการ) 60 70 80 90 100 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM 2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของเป้าหมายของโครงการตามแผนบริหารความเสี่ยง มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ RM 3 ร้อยละความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการ ดำเนินการ/โครงการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ RM 4.1 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 65 75 85 RM 4.2 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ (statXchange) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ RM 4.3 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 95 18-Jan-19

45 เกณฑ์การให้คะแนน(ร้อยละ)
รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน(ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM 5 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร 60 65 70 75 80 RM 6 จำนวนกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลดำเนินการ ดีขึ้น กระบวน การ - กระบวนการ ความแตกต่างของเกณฑ์ FL ในปี 2552 และ ปี 2553 คือ เปลี่ยนตัวชี้วัดทั้งหมดเพื่อให้เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนผลการดำเนินการในหมวด 1-6 หมายเหตุ 18-Jan-19

46 IT7 ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้และนำแผนไปปฏิบัติ
แผนการจัดการความรู้ หมายถึง แผนที่สนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ประกอบด้วย กิจกรรมการจัดการความรู้ต่างๆ เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบและเข้าถึงง่าย การยกย่องชมเชยและให้รางวัล เป็นต้น 18-Jan-19

47 ความแตกต่างของแผนการจัดการความรู้ปีงบประมาณ 2552 และ 2553
ส่วนราชการเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็น 3 องค์ความรู้จากอย่างน้อย 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน ไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ที่ส่วนราชการได้เคยเลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ไปแล้ว การจัดทำและปฏิบัติตามแผนการจัดการความรู้ (แบบฟอร์ม 2) ควรมีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการความรู้ต่างๆตามขั้นตอนทั้ง 7 ขั้นตอน (Knowledge Management Process : KMP) และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง 6 องค์ประกอบ (Change Management Process) นำมาบูรณาการร่วมกัน ไม่ต้องนำความสัมพันธ์ระหว่าง KMP และ CMP มาทำ Matrix กันก็ได้ แต่สามารถอ้างอิง CMP ทั้ง 6 องค์ประกอบลงไปในแต่ละขั้นตอนของการจัดการความรู้ (ดังตัวอย่างที่แนบ) สำหรับกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) ควรแสดงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมเพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์มที่ 2 เพื่อส่งเสริมและผลักดันความเข้าใจในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ให้มากขึ้น 18-Jan-19

48 กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)
เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) ความรู้อยู่ที่ใครอยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) จะแบ่งประเภทหัวข้ออย่างไร 3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์การ หรือไม่ ทำให้องค์การดีขึ้นหรือไม่ 18-Jan-19 7.การเรียนรู้ (Learning)

49 ตัวบ่งชี้ความรู้ที่จำเป็นต้องมี Knowledge Identification
1 18-Jan-19

50 18-Jan-19

51 การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
3 (Knowledge Organization) วางโครงสร้างความรู้เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต 18-Jan-19

52 การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement)
4 ปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์ 18-Jan-19

53 5.การเข้าถึงความรู้ การฝึกอบรมหนังสือเวียน (Knowledge Access)
18-Jan-19

54 6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)
Tacit Knowledge การยืมตัว .เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ 18-Jan-19

55 7.การเรียนรู้ (Learning)
องค์ความรู้ เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ นำความรู้ไปใช้ การเรียนรู้ และ วัตกรรม อย่างต่อเนื่อง 18-Jan-19

56 กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process)
6. การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) 5. การวัดผล (Measurements) 4. การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) 3. กระบวนการ และเครื่องมือ (Process & Tools) 1. การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) 2. การสื่อสาร (Communication) Robert Osterhoff 18-Jan-19

57 การบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ (KMP) และ
กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (CMP) 18-Jan-19

58 ส่วนราชการควรต้องดำเนินการกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรม
ควรดำเนินการครบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ในแต่ละขั้นตอน 18-Jan-19

59 RM 4.3 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ link ยึดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) หมวด 4 (IT7) มาประกอบการพิจารณาดำเนินการ ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง งานบริการหรือกิจกรรมที่เกิดจากการทำงานได้ผลผลิต (Output) ตามเป้าหมาย และเกิดผลลัพธ์ (Outcome) ตรงตามวัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ที่กำหนดสามารถนำไปใช้ได้อย่างแท้จริงหรือเป็นที่พึงพอใจ (ดังตัวอย่าง) 18-Jan-19

60 ตัวอย่าง องค์ความรู้ที่จำเป็น :
พัฒนาคุณภาพการบริการด้านที่พักและโรงแรมให้ได้มาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ขององค์ความรู้ที่จำเป็น : เครือข่ายผู้ประกอบการภาครัฐ/เอกชนด้านการท่องเที่ยวที่เข้ารับการอบรมสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปขยายผลต่อให้กับบุคลากรในองค์กรได้นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการบริการประชาชนหรือนักท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำหนดตัวชี้วัด คือ : “ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายในองค์ความรู้ที่จำเป็นสามารถนำแนวทางในการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ” (เป้าหมาย : ร้อยละ 90) 18-Jan-19

61 มีการนำแผนการจัดการความรู้ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ
ส่วนราชการเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นในประเด็นยุทธศาสตร์ใดก็ได้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ (ประเด็นยุทธศาสตร์ละ 1 องค์ความรู้) มาจัดทำเป็นแผนการจัดการความรู้ แผนการจัดการความรู้มีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการความรู้ พร้อมระบุตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละกิจกรรม ตลอดจนระบุระยะเวลาและผู้รับผิดชอบ มีการนำแผนการจัดการความรู้ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ เกณฑ์การให้คะแนนตาม RM 4.3 พิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินกิจกรรมที่ดำเนินการได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ที่กำหนดอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ ดังนี้ ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 80 85 90 95 100 18-Jan-19

62 แผนปฏิบัติราชการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2553
วิสัยทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นองค์กรหลักในการจัด และส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พันธกิจ ขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนวัยเรียนทุกคน ได้รับการพัฒนาให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ - เร่งปฎิรูปการศึกษาและระบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - สร้างความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สร้างสภาพแวดล้อมแหล่งเรียนรู้ วิจัย และนวัตกรรมที่เอื้อต่อการเรียนรู้แบบบูรณาการ พัฒนาการศึกษา การอาชีพและสร้างความเสมานฉันท์ในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่พิเศษอื่น ๆ 18-Jan-19

63 แผนปฏิบัติราชการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2553
เป้าหมาย 1. ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการศึกษา 2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิอย่างเท่าเทียม ทั่วถึงและตรงตามศักยภาพ 4. สนับสนุนให้มีกองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสำหรับคนพิการเพื่อใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาการศึกษาสำหรับคนพิการอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง 18-Jan-19 63 63

64 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
แผนปฏิบัติราชการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ 2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ 5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา 6. พัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ยากลำบาก 18-Jan-19 64 64

65 แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติ ราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมายของตัวชี้วัด ตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรอง เป้าประสงค์ (Objective) ประเด็นยุทธศาสตร์ หน้าที่ : ….. / ….. ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด : ………………………………………………………………… แบบฟอร์ม การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ/จังหวัด ผู้อนุมัติ : …………………………………..……… ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) ผู้ทบทวน : ………………………………..……… ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) ตัวชี้วัดตามคำรับรองและเป้าหมายที่เลือกใช้วัดการทำ KM : เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ : องค์ความรู้ที่จำเป็น : ความรู้แผนที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ : แผนการจัดการ ความรู้แผนที่ 1 องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ คือ 18-Jan-19

66 วิธีการสู่ความสำเร็จ
แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อหน่วยงาน………………………………………………………………………………………………………….. เป้าหมาย KM (Desired State)……………………………………………………………………………………….. หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม…………………………………………………………………………………………… ลำ ดับ กิจกรรม (KM Process) วิธีการสู่ความสำเร็จ ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เครื่องมือ/อุปกรณ์ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ สถานะ 1 การบ่งชี้ความรู้ 2 การสร้างและแสวงหาความรู้ 3 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4 การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5 การเข้าถึงความรู้ 6 การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 7 การเรียนรู้ 8 การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ : ………………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด ) 18-Jan-19

67 ตัวอย่าง แผนการจัดการความรู้ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ตัวอย่าง แผนการจัดการความรู้ จังหวัดนครศรีธรรมราช แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็น ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ แบบฟอร์มที่ 2 แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) link 18-Jan-19

68 “องค์การที่เกิดการเรียนรู้จะเติบโต (Growth) และพัฒนา (Develop)
ต่อไปโดยไม่มีที่สิ้นสุด” (วิโรจน์ สารรัตนะ) 18-Jan-19

69 วงจรอุบาทว์ โง่ จน เจ็บ 18-Jan-19

70 สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา
พลังนโยบาย พลังความรู้ พลังสังคม 18-Jan-19

71 ด้วยความขอบคุณ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
18-Jan-19

72 Contact Me Mobile 01-2662329 Home 02-6933855 Office 02-2815218
Address ซอยอุดมเกียรติ ถ.สุทธิสารวินิจฉัย แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กทม 18-Jan-19


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google