งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)

2 เป้าหมายของการเป็นหน่วยงาน HLO
คือ การสร้างความตระหนักในการให้ความสำคัญของสุขภาพให้กับ คนในหน่วยงาน และ ผู้มารับบริการจากหน่วยงาน การทำให้คนในหน่วยงาน รอบรู้ว่า 1.วิธีการทำงานของตน หรือ หน่วยงานของตน ส่งผลต่อสุขภาพของ ตนเอง ในด้านใดบ้าง 2.วิธีการทำงานของตน หรือ หน่วยงานของตน ช่วยให้ผู้รับบริการ หรือ สังคมโดยรวม มีสุขภาพดีอย่างไรบ้าง

3 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง ความสามารถของบุคคลในเข้าถึง การทำความเข้าใจข้อมูลสุขภาพ กลั่นกรอง ประเมิน และตัดสินใจ เพื่อการนำข้อมูลไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลือกใช้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม

4 กระบวนการความสำเร็จ ต้องสนับสนุนให้ประชาชน เข้าถึง เข้าใจข้อมูล ความรู้ และการจัดบริการสุขภาพ ระดับพื้นฐานที่จำเป็นได้ง่าย สามารถโต้ตอบซักถาม ตัดสินใจเลือกรับ ปรับใช้ และสามารถบอกต่อได้

5

6 องค์ประกอบขององค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ

7 ความสัมพันธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐและองค์กรรอบรู้สุขภาพ
ความสัมพันธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐและองค์กรรอบรู้สุขภาพ

8 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารจัดการภาครัฐ/PMQA Agent ศูนย์เขต โรงเรียน สถานประกอบการ องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ / HLO การนำองค์กร การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การจัดกระบวนการ ผลลัพธ์การดำเนินการ ผู้นำ บุคลากร การสื่อสาร สิ่งแวดล้อม Health Literacy กระบวนการสร้างความรอบรู้ในตัวบุคคล กลุ่มเป้าหมาย ประชาชน

9 เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560 ถึง กุมภาพันธ์ 2561)
เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560 ถึง กุมภาพันธ์ 2561)

10 ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 1 แสดงเข็มมุ่งการเป็นองค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม ตามโมเดลขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 - มีการจัดตั้ง 3 ทีมนำตามโมเดลขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 และมีนโยบายในการพัฒนาเป็น HLO - มีการสื่อสารเป้าหมาย/ เข็มมุ่งการเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ไปยังบุคลากรทุกระดับ รายงานการประชุม การมอบนโยบาย คำประกาศนโยบาย กำหนดให้การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ (health literacy) เป็นนโยบายหนึ่งขององค์กร

11 ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 2 3 ทีมนำ (Executive Engagement Teams) ร่วมขับเคลื่อนองค์กรตาม PMQA Mechanism -วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย เพื่อวางแผนหน่วยงานสู่องค์กร HLO -มีการจัดทำแผนการพัฒนาหน่วยงานสู่ HLO ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจน 1 - มีหลักฐานการวัด การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย - แผนการพัฒนาหน่วยงานสู่ HLO

12 ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 3 3 ทีมนำตอบสนองต่อบทบาทที่คาดหวัง - เริ่มแสดงให้เห็นถึงการมีกระบวนการ/วิธีทำงานร่วมกัน (collective Leader) อย่างชัดเจน ทีมนำ -กำหนดทิศทางองค์กร (Strategic Direction) ของการเป็นองค์กรรอบรู้สุขภาพ ทีมยุทธศาสตร์ –กำหนดมาตรการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานการเป็นองค์กรรอบรู้สุขภาพ ทีมสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ -มีกระบวนการให้ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานและผู้รับบริการ โดยอาจนำประเด็นสื่อสารหลักด้านสุขภาพ (Key Message) มาประกอบการดำเนินงาน 1 - หลักฐานที่แสดงถึงกระบวนการทำงาน/แผนงาน/การให้ข้อมูลด้านสุขภาพในองค์กร แก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานและผู้รับบริการ หรือการนำประเด็นสื่อสารหลักด้านสุขภาพ (Key Message) มาประกอบการดำเนินงาน

13 ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 4 แสดงถึงกระบวนงาน/ ตัวชี้วัดสำคัญ (ในขั้นตอนที่ 2-3) ที่นามาปรับปรุงระบบบริหาร/วิธีทำงานของหน่วยงานเพื่อดาเนินการ HLO (1 เรื่อง) - การออกแบบกระบวนงาน/ วิธีทำงาน การเป็นองค์กรรอบรู้สุขภาพ ที่ประกอบด้วย กระบวนการจัดทำสื่อ รูปแบบและช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การปรับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1 - เอกสารการสร้าง กระบวนงาน/ วิธีทำงาน การเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ - มีหลักฐานการใช้ข้อมูลของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย

14 ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก (ต.ค. 60-ก.พ.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 5 - แสดงให้เห็นถึงกระบวนงานใหม่ (ในขั้นตอนที่ 1-4) ตอบสนองต่อแผนพัฒนาบุคลากรขององค์กร (หมวด 5, หมวด 6) และมีการพัฒนาทักษะบุคลากรของหน่วยงานให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ 1 - แผนพัฒนาทักษะบุคลากรให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ - การสรุปผลการดำเนินกิจกรรมฝึกอบรมทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยแสดงหรืออธิบายกระบวนการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม แนวทางการประเมินผลการเข้าร่วม เครื่องมือในการประเมินผล ผลการประเมิน และสรุปปัญหา/อุปสรรค พร้อมแนวทางการจัดการในครั้งต่อไป คะแนนรวม

15 เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561 ถึง กรกฎาคม 2561)
เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561 ถึง กรกฎาคม 2561)

16 ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนหลัง (มี.ค. 61-ก.ค.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 1 - มีข้อมูลกลุ่มผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ - มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียครอบคลุมทุกกลุ่ม และจัดทำเป็นสารสนเทศเพื่อใช้ในการพัฒนาและสร้างความผูกพันองค์กร - มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ - มีตู้รับความคิดเห็น 2 - มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งยวด (Critical Knowledge) เข้าสู่ระบบสารสนเทศ (KISS) ของกรมอนามัย - มีสื่อเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ New Media - แสดงตัวอย่างชุดสื่อข้อมูล (สุขภาพ) ตามกลุ่มเป้าหมาย โดยอธิบาย ที่มา กระบวนการพัฒนา แนวทางการตรวจสอบความถูกต้อง ความง่ายของภาษา และความเหมาะสมของช่องทางการสื่อสารของชุดสื่อข้อมูลสุขภาพนั้นๆ ทั้งนี้ ให้ระบุลักษณะของกลุ่มเป้าหมายด้วย

17 ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนหลัง (มี.ค. 61-ก.ค.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 3 - มีการเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากข้อมูล เพื่อการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์/ขับเคลื่อนงานเชิงกลยุทธ์/ สร้างนวัตกรรม ฯลฯ - มีการสื่อสารด้านสุขภาพภายในหน่วยงานอย่างชัดเจน และมีช่องทางการสื่อสาธารณะที่เข้าถึง เพื่อสนับสนุนการเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ (HLO) 1 - แสดงหรืออธิบายช่องทางการเผยแพร่สื่อข้อมูล (สุขภาพ) ขององค์กร โดยระบุช่องทางในการเผยแพร่ กลุ่มเป้าหมาย เหตุผลที่เผยแพร่ผ่านช่องทางดังกล่าว และจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่รับรู้หรือเข้าถึงข้อมูล (สุขภาพ) ดังกล่าว 4 - มีการจัดทำ Work Manual/ Guideline ของกระบวนการ/ ตัวชี้วัดสำคัญ (ใน 5 เดือนแรก) ที่ครอบคลุมขั้นตอนของกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนงานสนับสนุนทั้งหมด - มีการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสู่องค์กร HLO - แสดงถึงการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสู่องค์กร HLO

18 ระดับขั้นความสำเร็จ ขั้นตอนดำเนินงานรอบ 5 เดือนหลัง (มี.ค. 61-ก.ค.61) คะแนน ตัวอย่างหลักฐาน 5 แสดงถึงความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรในภาพรวม [ผลลัพธ์-หมวด 7] - มีผลลัพธ์/ บทเรียนความสำเร็จในการดำเนินงาน HPO และ HLO - มีผลลัพธ์การพัฒนาองค์กรในระดับที่สูงขึ้นและนาไปสู่การเสนอชื่อผลงานเพื่อสมัครขอรับรางวัล เช่น รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards), รางวัล United Nations Public Service Awards , การประกวดผลงานวิชาการกระทรวงฯ เป็นต้น 1 - สรุปการดำเนินกิจกรรมถอดบทเรียนในการดำเนินการองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ทั้งนี้ สามารถแนบรูปภาพกิจกรรมได้ โดยระบุด้วยว่า กิจกรรม/โครงการใดดำเนินการแล้วบรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ - การรายงานผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน คะแนนรวม

19 การรายงานผลประสิทธิภาพของการดำเนินงาน องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ
ปี กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ตามกิจกรรม (เช่น จำนวนวันลา การป่วยของผู้รับบริการ ภาวะน้ำหนักเกินของบุคลากร) ค่าใช้จ่าย (บาท) 2560 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2561 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการดำเนินงานรอบรู้สุขภาพ


ดาวน์โหลด ppt องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google