สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ.แสวงหา ( รอบที่ 2) วันที่ 6 มิถุนายน 2560
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.การฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ <12 สัปดาห์ ร้อยละ 34.8 2. การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 16.96 ผลการฝากครรภ์ครั้งแรก <12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ต่ำกว่าเป้าหมายมาก เนื่องจาก -หญิงตั้งครรภ์ไม่ทราบว่าตั้งท้อง -ปกปิดการตั้งครรภ์ -ไปทำงานต่างจังหวัดไม่มีเงินไปฝากครรภ์ -ระบบการบันทึกข้อมูล -จัดบริการเชิงรุกให้มากขึ้นโดยการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่โดย อสม. -ปรับปรุงการบันทึกข้อมูล
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 3. เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.12 พัฒนาการสมวัยค่อนข้างสูงอาจทำให้เด็กที่สงสัยพัฒนาล่าช้าไม่ได้รับการกระตุ้น (อาจเกิดจากทักษะผู้ประเมิน) -สงสัยพัฒนการล่าช้าพบที่ รพ. ตรวจเท่านั้น - พัฒนาการทักษะการตรวจ ค้นหาสงสัยพัฒนาการล่าช้าเพิ่มขึ้นเพื่อเข้าสู่กระบาวนการกระตุ้นพัฒนาการ
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น เด็กนักเรียนสูงดีสมส่วน ปีงบ 59 เทอม 2 = 62.9 เทอม 1 = 65.3 ปีงบ 60 เทอม 2 = 65.28 เทอม 1 = 63.11 รพ.สต. วังน้ำเย็น - เตี้ย 179 คน - อ้วน 74 คน -เด็กสูงดีสมส่วนต่ำกว่าเป้าหมาย สาเหตุ เด็กอ้วนแต่เกิด กินอาหารไม่เหมาะสม ขาดการเคลื่อนไหว ไม่กินนม วิเคราะห์โรงเรียนที่เด็กสูงดีสมส่วน และอ้วนสูงกว่าเกณฑ์ คัดเลือกนักเรียนที่ไม่สมส่วนจัดกิจกรรมที่เหมาะสมให้มีการเคลื่อนไหวออกกำลังกายที่มีการกระโดดให้มากขึ้น 2. อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15 – 19 ปี 32.77 ต่อพันประชากร -อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี ค่อนข้างสูง(อันดับ 1 ) ของจังหวัด จากการวิเคราะห์พบว่าเป็นนอกระบบการศึกษา ประมาณร้อยละ 80 นักเรียน ร้อยละ 20 - ให้ความรู้เรื่องการคุมกำเนิดในคู่สมรสรายใหม่
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3. งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เป้าหมายการจัดทำ care Plan จำนวน 76 คน จัดทำ care Plan 15 คน ร้อยละ 19.13 ตำบลที่ดำเนินงาน LTC จัดทำ care Plan ยังไม่ครบ เนื่องจาก ยังขาดความชำนาญในการเขียน Care Plan แต่มีแผนทำให้เสร็จ มิ.ย. เร่งรัดจัดทำ Care Plan ให้ครบ -ส่ง Care Plan ให้อนุกรรมการกองทุน พิจารณาอนุมัติเงิน -ดำเนินการตาม Care Plan 4.งานยาเสพติด ตามเป้าหมาย โรงพยาบาลยังไม่ผ่านมาตรฐาน HA ยาเพสติด เร่งรัดการพัฒนาตามมาตรฐาน HA เสพติดพร้อมทั้งขอรับการประเมินในเดือน มิถุนายน 2560
กลุ่มงานควบคุมโรค
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18 : แสนประชากร ต.ค. 59 – พ.ค. 60 เสียชีวิต 9 ราย คิดเป็น25.3 : แสนประชากร กิจกรรม 1.มีการคืนข้อมูลในเวทีทีประชุมอำเภอ 2.มีการแก้ไขปัญหาโดยกระบวนการ DHS -สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่มาจากเรื่องพฤติกรรม ยังไม่มีการนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาร่วมกันวิเคราะห์แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 1.ควรแต่งตั้ง ศปถ ของอำเภอ คณะกรรมการ ประมาณ 15 คน จัดทำแผน กำหนดบทบาทภารกิจให้ชัดเจน 2.ประชุม ประเมินติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4 -กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 1,289 ราย - ป่วย DM รายใหม่ 13ราย คิดเป็นร้อยละ 1 ผู้ป่วย DM รายใหม่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 294 ราย (ปกติกลุ่มเสี่ยงพบ ร้อยละ 10 จากการคัดกรอง มีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ 1.ขาดผู้รับผิดชอบที่เป็น Manager ในภาพ CUP ที่สามารถบริหารจัดการวิเคราะห์ เชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการแก้ไข 1.กำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ -ข้อมูลผลการคัดกรองที่พบกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่าปกติ -ข้อมูลผู้ป่วยรายใหม่ที่ไม่ใช้กลุ่มเสี่ยง - วิเคราะห์สถานการณ์ แนวโน้มการเกิด
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3.ร้อยละการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต ( ร้อยละ 40 , ร้อยละ 50) ควบคุม DM 2252 ราย - ควบคุมน้ำตาลได้ 580 ราย คิดเป็นร้อยละ 26 ควบคุม HT จำนวน 5353 ราย ควบคุม BP ได้ 2073 ราย ร้อยละ 38.7 กิจกรรม - จัดกิจกรรม Hight Light สมุนไพรพื้นบ้าน ตรวจ BP ได้ไม่ครอบคลุมคือ สาเหตุ 1.1 Diag HT นามมาแล้วแต่ไม่ได้รับษา 1.2 ให้ญาติมาต่อยาไม่มีผล BP 1.3 รักษาที่อื่นๆ 1.4. ลงรหัสผิด 1.สสอ ทบทวนเรื่องการจัดการข้อมูลจาสาเหตุต่างๆ ที่ทำให้การตรวจความดันในผู้ป่วย ความดันโลหิตสูงไม่ควบคุม 2ขยายกิจกรรมกิจกรรม Hight Light สมุนไพรพื้นบ้าน
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 4. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราลดลงของ eGFR<4 mc/min/1.73m2/yr (ร้อยละ 65) ร้อยละ 58.59 กิจกรรม - มี CKD Clinic เปิดบริการทุกวันพฤหัสบดี -กิจกรรมหลักคือให้คำแนะนำหลักรายบุคคลโดย Care Manger การจัดกิจกรรม ยังไม่เข้มข้นพอที่จะทำให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขาดโภชนาการ ควรพิจารการจัดกิจรรม CKD คลินิกให้ได้ตามเกณฑ์ ควรติดตามการพัฒนาตามเกณฑ์ส่วนขาด ควรมีนักโภชนาการ
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) HA ขั้นที่ 3 EXP ปี 2558 -กำลังดำเนินการประเมินตนเองทั้งระบบงานและภาพรวมโรงพยาบาล( Hospital Profile ) -บุคลากรขาดความรู้ในเรื่อง HA update สำหรับทีมนำ HA -ให้บรรจุในแผนพัฒนาบุคลากรของโรงพยาบาล - จังหวัดร่วมพัฒนาโดยการประสานคณะกรรมการเขตในการพัฒนา -มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ -มีการจัดทำบัญชีความเสี่ยงของ รพ.ยังไม่เป็นปัจจุบัน -มีการทบทวนและแก้ไขความเสี่ยงที่อยู่ในระบดับ G H I (High lisk) เช่นเรื่องแนวทางป้องกันเกี่ยวกับสารเสพติด ของเจ้าหน้าที่และการปฏิบัติงานเวรดึกของ ER
กลุ่มงานประกันสุขภาพ
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. เพิ่มรายได้ ได้ตามเป้าหมาย ทั้ง 5 กิจกรรม -กายภาพบำบัดและแพทย์แผนไทยมีปัญหาเรื่องห้องที่ให้บริการ ฝ่าหลังคาชำรุด เร่งรัดการดำเนินการซ่อมโดยใช้งบค่าเสื่อม 2. ลดรายจ่าย - เวชภัณฑ์มิใช่ยา 5 ประเภท - ค่าตอบแทน -ได้ตามแผน 4 ประเภท -สูงกว่าแผน คือวัสดุวิทยาศาสตร์ ( 88,590 บาท) -ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวสูงกว่าแผน -ไตรมาส1-2 มีการซื้อมากเนื่องจากการคัดกรองเบาหวาน รพท. ส่งผู้รับบริการกลับมาตรวจ Leb ที่ รพ.แสวงหา การทำแผนรวมค่าจ้างลูกจ้างใน รพ.สต. -ปีต่อไปวางแผนจัดซื้อให้สัมพันธ์กับการจัดกิจกรรม -ปรับแผนค่าใช้จ่ายลูกจ้างชั่วคราว
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3. การจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ มีการดำเนินงานจัดตั้งและกำหนดผู้รับผิดชอบ เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจนแล้ว - ข้อเสนอเพิ่มเติม : รพ.แสวงหาตั้งเป้าหมายในการเพิ่มรายได้ไม่สูง ถึงผลงานจะตามเป้าหมายแล้วควรมีการดำเนินงาน ตามมาตรการดังกล่าวของแต่ละกิจกรรมต่อไปอย่าง ต่อเนื่อง
งานการเงินและบัญชี
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การจัดทำแผนทางการเงิน (แผนชาดดุล – 2,000,000.-) มีการปรับแผน 6 เดือนหลัง ขาดดุล Ebitda ลดลง 204,361.54 ทำแผน ขาดดุล ebitda -1,795,638.46 ควบคุมให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน 2.ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้ 27.43% ด้านค่าใช้จ่าย -8.57%) 2.1ให้มีระบบสอบทานรายงานการเงินกับข้อมูลการรักษา (Hosxp,การเรียกเก็บ,ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา) ไตรมาส 2/60 (รายได้ 32.04 ค่าใช้จ่าย 2.38) เมย.60 (รายได้ 18.35 ค่าใช้จ่าย -1.27) -มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามแผนเพื่อหาสาเหตุและนำเสนอที่ประชุมทุกเดือน . มีการมอบหมายการกำหนดผู้รับผิดชอบในการรายงานลูกหนี้ให้บัญชีและผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรายได้ -รายได้มากกว่าแผน ( uc ,อปท,กรมบัญชีกลาง งบลงทุน) -รายได้ต่ำกว่าแผน (ต้นสังกัด,รายได้อื่น) -ค่าใช้จ่ายมากกว่าแผน(ยา,วัสดุวิทย์,ค่าใช้จ่ายอื่น) -ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าแผน (ทันตกรรม,ค่าใช้สอย,ค่าสาธารณูปโภค,วัสดุใช้ไป) ยังไม่มีการตรวจสอบระบบรายงานลูกหนี้ จากข้อมูลการรักษา การเรียกเก็บ และทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล ให้มีการวิเคราะห์หาสาเหตุและวางแนวทางกำกับให้เป็นไปตามแผน มีการสอบทานเปรียบเทียบยอดลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลกับศูนย์จัดเก็บรายได้/งานประกันสุขภาพ
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 3.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) 4.หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกิน ค่าmean+1SD ของกลุ่มบริการระดับเดียวกัน (20กลุ่ม) (แสวงหา รพช F2 30000-=60000) ไตรมาส 2/60 ผ่าน 4 ตัว ไตรมาส2/60 =0.24 (mean+1SD=0.33) -ระยะเวลาชำระหนี้ 110 วัน cash 1.14 (เกณฑ์ cash >0.8 จ่ายภายใน 90 วัน การประมวลผลโดยส่วนกลางทางรพ.ไม่ทราบข้อมูล ทำแผนการชำระหนี้ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จัดระบบชำระหนี้ก่อน-หลัง จังหวัดประสานส่วนกลางเรื่องการส่งข้อมูลผลการประเมิน
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 5.คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไตรมาส 2/60 ได้ 92 % กิจกรรมควบคุมภายในส่งผลการประเมิน 5 มิติไม่ทันเวลา (28 กพ 60)ส่งพค.60 กิจกรรมการบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ ไตรมาส2/60ต้นทุนบริการ IP แบบquick method =17,518.04 (mean+1SD=17,385.04) ให้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนด โดยให้ส่งผลการดำเนินการตามแผนและผล การพัฒนาองค์การ 5 มิติ ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. ภายใน 30 มิย 60 กิจกรรมการบริหารต้นทุนให้ดำเนินการให้ครบตามเกณฑ์ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี และกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังให้ดำเนินให้ครบทุกขั้นตอนตามเกณฑ์ที่กำหนด (5คะแนนทั้ง 2 กิจกรรม) จึงจะได้คะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในไตรมาส 3 และ 4
ถาม - ตอบ