งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ
กรอบการบริหารค่าบริการควบคุมป้องกันความรุนแรงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2559 แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ

2 มติคณะกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 13 กรกฎาคม 2552
ให้มีงบประมาณหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพิ่มเติมจากงบเหมาจ่ายรายหัวที่มีอยู่แล้ว เป็นงบบริการควบคุมป้องกันและรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะเพื่อ :- 1. สนับสนุนและชดเชยการบริการ 2nd prevention - ค้นหาผู้ป่วย DM/HT ในระยะเริ่มแรก (Early Detection) - รักษาผู้ป่วยตั้งแต่ต้น (Prompt Rx) - เพิ่มคุณภาพการรักษาผู้ป่วย (Improve Quality of Rx) 2. สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการ DM & HT

3 กรอบแนวทางบริหารงบควบคุมป้องกันความรุนแรง ของโรค DM/HT ปีงบประมาณ 2559
1) จัดสรรเป็นวงเงินระดับเขตตามจำนวนผู้ป่วยที่มีในทะเบียน : ความครอบคลุมและ คุณภาพบริการ 2nd prevention ในสัดส่วน 60:40 2) จ่ายเงินให้หน่วยบริการตามข้อเสนอเขตที่ผ่านความเห็นชอบของ อปสข. ขั้นตอน กิจกรรมดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินการ 1 แผนงานฯโรคเรื้อรัง สปสช. ทำหนังสือแจ้งยอดการจัดสรรไปยัง สปสช.เขตทุกเขต ภายในเดือนกันยายน 2558 2 สปสช.เขตจัดทำหลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณให้หน่วยบริการ โดยได้รับการรับรองจาก อปสข.และส่งให้แผนงานโรคเรื้อรังรับทราบ ภายในเดือนธันวาคม 2558 3 สปสช.เขตให้ อปสข.พิจาณารับรองการจัดสรรงบรายหน่วยบริการ แล้ว ทำหนังสือแจ้งแผนงานฯโรคเรื้อรัง สปสช. (แนบมติ อปสข.และไฟล์ exel วิธีการจัดสรรรายหน่วยบริการ) ภายในเดือนกุมภาพันธุ์ 2559 4 ส แผนงานฯโรคเรื้อรัง สปสช. ตรวจสอบความถูกต้อง ขออนุมัติจัดสรรและโอนงบประมาณให้หน่วยบริการประจำ ภายในเดือนมีนาคม 2559

4 ตัวชี้วัดจ่ายงบคุณภาพบริการปี 2559
ด้านความครอบคลุมการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน 1.1) อัตราการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 1.2) อัตราการตรวจ LDL หรือ Lipid Profile ผู้ป่วยเบาหวานอย่างน้อย 1ครั้งต่อปี 1.3) อัตราตรวจ Microalbuminuria อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 1.4) อัตราการตรวจจอประสาทตาอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 1.5) อัตราการตรวจเท้าอย่างละเอียด อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 1.6) อัตราผู้ป่วย Microalbuminuria ได้รับยากลุ่ม CEI inhibitor หรือ ARB 2) ด้านคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2.1) อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับ HbA1c ต่ำกว่า 7% 2.2) อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานมีแผลที่เท้า 2.3) อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีค่า BP ต่ำกว่า 140/90 mmHg 2.4) อัตราพบภาวะแทรกซ้อนทางไตใน รอบ 12 เดือนในผู้ป่วยเบาหวาน 2.5) อัตราพบภาวะแทรกซ้อนทางไตใน รอบ 12 เดือนในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

5 ผลการจัดสรรงบควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ปีงบประมาณ 2559 เขต สปสช.เขต Total ผู้ป่วย DMHT 5,770,581 (คน) งบประมาณจัดสรร วงเงิน(60%) ยอดจัดสรร 40%เทียบกับคะแนนคุณภาพและจำนวนผู้ป่วย DMHT รวมงบประมาณจัดสรร (100%) 1 สปสช.เขต(เชียงใหม่) 665,707 62,932,394 40,847,310 103,779,704 2 สปสช.เขต(พิษณุโลก) 375,314 35,480,187 26,433,942 61,914,129 3 สปสช.เขต(นครสวรรค์) 367,518 34,743,194 24,851,506 59,594,700 4 สปสช.เขต(สระบุรี) 486,370 45,978,829 30,944,869 76,923,698 5 สปสช.เขต(ราชบุรี) 530,131 50,115,762 33,775,559 83,891,321 6 สปสช.เขต(ระยอง) 495,969 46,886,268 34,489,375 81,375,643 7 สปสช.เขต(ขอนแก่น) 412,138 38,961,332 22,084,735 61,046,067 8 สปสช.เขต(อุดรธานี) 440,021 41,597,243 23,624,481 65,221,724 9 สปสช.เขต(นครราชสีมา) 547,158 51,725,404 36,070,172 87,795,576 10 สปสช.เขต(อุบลฯ) 337,083 31,866,032 18,448,443 50,314,475 11 สปสช.เขต(สุราษฎร์ฯ) 381,874 36,100,334 28,799,883 64,900,217 12 สปสช.เขต(สงขลา) 374,204 35,375,254 24,616,440 59,991,694 13 สปสช. เขต(กรุงเทพ) 357,094 33,757,767 18,693,285 52,451,052 รวม 5,770,581 545,520,000 363,680,000 909,200,000

6 ผลการจัดสรรงบควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ปีงบประมาณ 2559 สปสช.เขต 4 รายจังหวัด ลำดับ จังหวัด Total ผู้ป่วย DMHT 5,770,581 (คน) งบประมาณจัดสรร วงเงิน(60%) ยอดจัดสรร 40%เทียบกับคะแนนคุณภาพและจำนวนผู้ป่วย DMHT รวมงบประมาณจัดสรร (100%) 1 นครนายก 25,997 2,457,618 1,461,708 3,919,326 2 นนทบุรี 88,230 8,340,794 5,302,947 13,643,741 3 ปทุมธานี 72,081 6,814,154 4,052,827 10,866,981 4 พระนครศรีอยุธยา 96,167 9,091,116 7,458,051 16,549,167 5 ลพบุรี 74,841 7,075,070 3,917,803 10,992,873 6 สระบุรี 63,052 5,960,600 3,789,657 9,750,257 7 สิงห์บุรี 31,143 2,944,093 2,596,380 5,540,473 8 อ่างทอง 34,859 3,295, 384 2,365,496 5,660,780 รวม 486,370 45,978,829 30,944,869 76,923,698

7 ขั้นตอนการดำเนินงาน บริหารจัดการกองทุนโรคเรื้อรัง ปี 2559
อปสข.มอบให้ NCD Board จังหวัดดำเนินการ จัดสรรงบให้ราย CUP ( ขอมติในเดือน ตุลาคม 58 ) สปสช.เขต ทำหนังสือแจ้ง สสจ.ทุกแห่ง NCD Board ส่งผลให้ สปสช.เขตเป็นหนังสือ เพื่อเตรียมนำเสนอ อปสข. ( ดำเนินการเดือน พฤศจิกายน 2558 ) 3. สปสช.เขต 4 สระบุรี นำผลการจัดสรร พร้อมเงื่อนไข เสนอต่อ อปสข. เพื่อทราบ(ภายในเดือน ธันวาคม 2558 ) 4. สรุปตัวเลขการจัดสรร ราย CUP ส่งให้ สปสช.ส่วนกลาง เพื่อดำเนินการจัดสรรงบราย CUP (ภายในเดือน มกราคม 2559)

8 มติ อปสข.เมื่อ 19 ตุลาคม 2558 อปสข.มอบให้ NCD Board จังหวัดดำเนินการ จัดสรรงบให้ราย CUP ใช้เงื่อนไข จำนวนผู้ป่วยและประเด็นคุณภาพโดยสปสช.เขต ทำหนังสือแจ้ง สสจ.ทุกแห่ง NCD Board ส่งผลให้ สปสช.เขตเป็นหนังสือ เพื่อเตรียมนำเสนอ อปสข. ( ดำเนินการเดือน พฤศจิกายน 2558 ) 3. สปสช.เขต 4 สระบุรี นำผลการจัดสรร พร้อมเงื่อนไข เสนอต่อ อปสข. เพื่อทราบ(ภายในเดือน ธันวาคม 2558 ) 4. สรุปตัวเลขการจัดสรร ราย CUP ส่งให้ สปสช.ส่วนกลาง เพื่อดำเนินการจัดสรรงบราย CUP (ภายในเดือน มกราคม 2559)

9 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google