แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
โครงการเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสทรงเจริญ พระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี ปี
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2559
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2560
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
รายงานสถานการณ์E-claim
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558 ยุภาพร ราชวงศ์ งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่

วัตถุประสงค์ 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90ของวัคซีนทั้งหมด ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด) ผู้สูงอายุ > 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี บุคลากรกลุ่มเสี่ยง : บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ , เจ้าหน้าที่ทำลายสัดว์ปีก 2. วัคซีนสูญเสียไม่เกินร้อยละ 5 ของวัคซีนทั้งหมด

ปริมาณจัดสรรวัคซีน (ประชาชน) ระดับประเทศ ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย = 11,323,717 คน จัดซื้อวัคซีน = 3,000,000 โด๊ส ( 26.49 %)

ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย ระดับเขต 9   จังหวัด ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย ยอดจัดรรวัคซีน 7 โรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ > 65ปี เด็ก 6ด.-2ปี ญ.ตั้งครรภ์ >4ด. รวม จัดสรรวัคซีน (26.49%) สสจ. ยืนยัน (ปรับเกลี่ย) นครราชสีมา 179,587 194,096 76,280 12,281 462,244 122,463 125,679 บุรีรัมย์ 91,270 114,742 47,452 8,455 261,919 69,390 66,375 สุรินทร์ 67,781 115,375 41,176 6,514 230,846 61,158 60957 ชัยภูมิ 76,904 89,440 31,489 5,365 203,198 53,833 เขต 9 415,542 513,653 196,397 32,614 1,158,206 306,844 ยอดจัดสรรรายหน่วยบริการ (แนบ 1)

วัคซีนผลิตจากต่างประเทศ การกระจายวัคซีน ด้วยระบบ VMI ของ GPO วัคซีนผลิตจากต่างประเทศ สนามบิน วัคซีนส่ง CUP องค์การเภสัชกรรม จะส่ง 2 รอบ รอบ 1 Single dose ภายใน 24 เม.ย. 58 รอบ 2 Multiple dose ภายใน 29 พ.ค. 58 โรงพยาบาลแม่ข่าย (CUP) รณรงค์ 1 พค – 31 กค 58 หน่วยบริการปฐมภูมิ

แผนการดำเนินงาน 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการควบคุมโรค หน่วยบริการควรทำแผนเร่งรัดการดำเนินงาน 2 ช่วง - ช่วงเร่งรัด 2 เดือนแรก ( 1 พ.ค. – 30 มิ.ย. 58) - ช่วงเก็บตก (1 – 31 ก.ค. 58) 2. การส่งวัคซีน แบ่งเป็น 2 รอบ - รอบ 1 Single dose ภายใน 24 เม.ย. 58 (แนบ 5) - รอบ 2 Multiple dose ภายใน 29 พ.ค. 58 3. หน่วยบริการต้องการวัคซีนเพิ่มแจ้ง สสจ. ภายใน 30 มิ.ย. 58

1. ค่าบริการตามผลงาน (Workload) งบประมาณสนับสนุน 1. ค่าบริการตามผลงาน (Workload) จัดสรรให้ หน่วยบริการที่รับวัคซีนเท่านั้น เหมาจ่ายในอัตรา 20 บาท/ราย (เฉพาะ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย) 1. จ่ายล่วงหน้า 50% ของจำนวนวัคซีนที่หน่วยบริการกำหนด ** ภายใน 30 เม.ย. 58 2. จ่ายเพิ่มเติม เมื่อสิ้นสุดการรณรงค์ โดยพิจารณาจากข้อมูลที่บันทึกผ่าน 43 แฟ้ม (รหัสวัคซีนส่งออก 815 , ICD10 Z251) บันทึกในช่วง 1 พ.ค. – 31 ส.ค. 58 ** ภายใน 30 ก.ย. 58

(แนบ 4) ค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ จัดสรรให้ หน่วยงาน / หน่วยบริการ / สถานพยาบาล เพื่อเป็นค่าบริหารจัดการ / พัฒนาระบบ / พัฒนาและ จัดการข้อมูล / กำกับติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ปี 2558 และโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน พื้นฐาน (EPI) จัดสรรเป็น Global budget ระดับเขต 1,620,000 บาท (แนบ 4) จังหวัด จำนวน CUP ณ 31 ม.ค. 58 (แห่ง) 1. จัดสรรให้ CUP (12,000 บาท) 2. บริหารจัดการระดับจังหวัด (CUP ละ 3,000) บาท หน่วยรับโอนเงิน นครราชสีมา 43 516,000 129,000 ศูนย์แพทย์ 3 บุรีรัมย์ 30 360,000 90,000 CUP ละ 3,000 บาท สุรินทร์ 18 216,000 54,000 รพ.ท่าตูม ชัยภูมิ 17 204,000 51,000 รพ.แก้งคร้อ รวม 108 1,296,000 324,000   บุรีรัมย์เพิ่มจาก 24 แห่งในปี 57 เป็น 30 แห่ง มติที่ประชุมหารือเตรียมการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558 วันที่ 7 เม.ย. 58

หลักเกณฑ์เงื่อนไขการจ่ายเงิน จัดสรรเมื่อได้รับรายงานข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน จัดสรร 2 รอบ - กรณี CUP ให้บริการและรายงานข้อมูล จัดสรรให้ CUP โดยตรง - กรณีหน่วยบริการอื่นให้บริการและรายงานข้อมูล จัดสรรค่าบริการผ่าน สสจ. การเบิกจ่ายให้เป็นไปตามขั้นตอน วิธีการและระเบียบเงินบำรุงของหน่วยงานต้นสังกัด

แผนกำกับติดตามการดำเนินงาน เป้าหมายดำเนินงาน (%Ach) เดือน เป้าหมายดำเนินงาน (%Ach) ผลงาน (ราย) นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ จัดสรรวัคซีนประชาชน 125,679 53,833 66,375 60,957 พ.ค. 30% 37,704 16,150 19,913 18,287 มิ.ย. 80% 100,543 43,066 53,100 48,766 ก.ค. 100% จัดสรรวัคซีนบุคลากร 13,981 5,236 4,654 3,793 50% 6,991 2,618 2,327 1,897 มติที่ประชุมหารือเตรียมการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558 วันที่ 7 เม.ย. 58

สรุปประเด็นแตกต่างจากปี 57 ปี 58 1. ตัวชี้วัด 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 2. วัคซีนสูญเสียไม่เกินร้อยละ 5 ของวัคซีนทั้งหมด 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90ของวัคซีนทั้งหมด 2. ข้อมูลวัคซีน 1. สายพันธุ์วัคซีน Type A H1N1 Calilfornia/7/2009 Type A H3N2 Texas/50/2012 Type B Massuchusetts/2/2012 Type A H3N2 Switzerland/9715293/2013 Type B Phuket/3073/2013 2. บริษัทวัคซีน ประชาชน – Influenza Vaccine ผลิตโดย Sanofi Pasteur , ฝรั่งเศส บุคลากร - Agrippal S1 ผลิตโดย Novartis Vaccines , อิตาลี ประชาชน – Influvac 2015 ผลิตโดย Abbott Biologicals , เนเธอแลนด์

ประเด็นแตกต่างจากปี 57 (ต่อ) ปี 58 3. งบประมาณ 1. ค่าบริการตามผลงาน (Workload) - จ่ายประชาชนและบุคลากร - บันทึกข้อมูลในโปรแกรมไข้หวัดใหญ่ - CUP / PCU บันทึกข้อมูล - จ่ายเฉพาะประชาชน - บันทึกข้อมูลใน 43 แฟ้ม (ICD10 = 815) - CUP บันทึกข้อมูล ตัดข้อมูลเฉพาะ CUP ที่รับวัคซีนเท่านั้น * ไม่ตัดข้อมูลระดับ PCU 2. ค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ จัดสรรให้ สสจ. จัดสรรให้ หน่วยงาน / หน่วยบริการ / สถานพยาบาล

ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง

โปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ Website ของ สปสช. (โปรแกรม Online) โปรแกรม HOS XP (43 แฟ้ม ) (รหัสวัคซีนส่งออก 815 , ICD10 Z251)

บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานระดับเขต หน่วยงาน บทบาท สำนักงานป้องกัน ควบคุมโรค พัฒนาศักยภาพเชิงวิชาการแก่หน่วยงานต่างๆ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการให้วัคซีน (ระดับเขต) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการให้วัคซีน (ระดับจังหวัด อำเภอ) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชนเป้าหมาย พื้นที่ในจังหวัด/อำเภอ/ตำบล สปสช.เขต ประสานงานกระจายวัคซีนผ่านระบบ VMI วิเคราะห์ผลการนิเทศในภาพรวมเขต

การเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์หลังฉีดวัคซีน ระบบเฝ้าระวังปกติ (Passive surveillance) รายงาน 506 รายงานอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (AEFI1, AEFI2) รายงานผู้ป่วยที่มีอาการไม่พึงประสงค์ร้ายแรงภายหลังได้รับวัคซีน (Serious AEFI) ภายใน 24 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย โดยผ่านช่องทาง outbreak notification ระบบเฝ้าระวังกึ่งเชิงรุก/เชิงรุก (Stimulated passive surveillance / active surveillance) การโทรศัพท์ติดตามอาการ AEFI โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข บัตรรายงานอาการ AEFI ด้วยตนเอง (Self-reported card)  

การติดตามประเมินผล ติดตาม 3 ระยะคือ ก่อนดำเนินการ ขณะดำเนินการและหลังการดำเนินงาน - ระบบข้อมูลและทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย - การจัดทำแผน/จัดกิจกรรมดำเนินงาน - การบริหารคลังวัคซีน - การจัดการ - การกำกับ ติดตาม ประเมินผล - อัตราความครอบคลุมวัคซีนร้อยละ - อัตราความสูญเสียวัคซีนร้อยละ  

สวัสดีคะ